ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นีกอลา ปูแซ็ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
| สาขา = จิตรกรรม
| ประเภทงาน = [[จิตรกรรมสีน้ำมัน]]
| การศึกษา/ฝึก = เควนแต็งก็องแต็ง วาแร็ง<br />เฟอร์ดินานด์แฟร์ดีน็อง เอลเลแอล<br />ชอร์ชฌอร์ฌ ลาเลอมองด์ลม็อง
| ยุค = คลาสสิกซิสม์
| งานสำคัญ =
| ผู้อุปถัมภ์ =
บรรทัด 24:
'''นีกอลา ปูแซ็ง''' ({{lang-fr|Nicolas Poussin}}; [[15 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1594]] - [[19 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1665]]) เป็นจิตรกรชาว[[ฝรั่งเศส]]ในคริสต์ศตวรรษที่ 17 ผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียน[[จิตรกรรมสีน้ำมัน]]
 
ปูแซ็งเกิดเมื่อวันที่ [[15 มิถุนายน]] [[ค.ศ. 1594]] ที่เมืองเลซ็องเดอลีในนอร์ม็องดีใน[[ประเทศฝรั่งเศส]] และเสียชีวิตเมื่อวันที่ [[19 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1665]] ลักษณะการเขียนเป็นแบบคลาสสิกซิสม์ งานของปูแซ็งเจะชัดเจน มีเหตุผลและมีระเบียบและนิยมเส้นมากกว่าสี ปูแซ็งมีอิทธิพลต่อจิตรกรที่มีลักษณะเขียนไปทางคลาสสิกซิสม์มาจนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 เช่น [[ฌัก-หลุยส์ ดาวิดวีด]], (Jacques-Louis David) และ[[ปอล เซซาน]]
 
ปูแซ็งใช้เวลาส่วนใหญ่ในช่วงทำงานเขียนใน[[กรุงโรม]] นอกจากช่วงที่[[อาร์ม็อง ฌ็อง ดูว์ เปลซี เดอ รีเชอลีเยอ|คาร์ดินัลรีชลีเยอเชอลีเยอ]] (Cardinal Richelieu) เรียกตัวกลับมาฝรั่งเศสเพื่อมาเป็นเป็นจิตรกรเอกประจำราชสำนักพระเจ้าแผ่นดินฝรั่งเศส
 
== เบื้องต้น ==
[[ไฟล์:Nicolas Poussin - Et in Arcadia ego (deuxième version).jpg|thumb|200px|left|“Les Bergers d’Arcadie” ปลายคริสต์ทศวรรษ 1630 กล่าวกันว่าปูแซ็งไม่เคยเขียนหัวเรื่องหลังคริสต์ศตวรรษที่ 12]]
 
ผู้เขียนชีวประวัติสมัยแรกของปูแซ็งคือเพื่อนชื่อ[[จิโอวานนิโจวันนี เปียปีเอโตร เบลโลริเบลโลรี]]<ref>His ''Lives of the Painters'' was published in Rome, 1672. Poussin's other contemporary biographer was André Félibien</ref> ผู้เขียนว่าปูแซ็งเกิดที่เลซ็องเดอลีในนอร์ม็องดีและได้รับการศึกษาเบื้องต้นที่รวมทั้งภาษาละติน งานร่างสมัยแรกเป็นที่สังเกตของเควนแต็งก็องแต็ง วาแร็ง จิตรกรท้องถิ่นที่ปูแซ็งได้เป็นลูกศิษย์จนกระทั่งหนีไปปารีสเมื่อายุเมื่ออายุ 18 ที่ปารีสปูแซ็งเข้าศึกษากับสติวดิโอห้องผลิตงานของจิตรกรฟลานเดิร์สเฟอร์ดินานด์แฟร์ดีน็อง เอลเลแอล จิตรกรเฟลมิช และต่อมากับชอร์ชฌอร์ฌ ลาเลอมองด์ลม็อง ปูแซ็งพบว่าศิลปะฝรั่งเศสขณะนั้นกำลังอยู่ในระหว่างการเปลี่ยนแปลง ระบบการฝึกงานกับครูบาแบบเก่าเริ่มจะกระทบกระเทือน แต่ระบบการศึกษาจากสถาบันยังไม่ได้รับการก่อตั้งโดย[[ซิโมงซีมง วูเอท์วูแอ]] (Simon Vouet) แต่เมื่อพบกับ[[คูร์ทัวส์กูร์ตัว]] (Courtois) [[นักคณิตศาสตร์]] ปูแซ็งก็ตื่นเต้นกับการศึกษางานสะสมภาพพิมพ์ลายแกะของคูร์ทัวส์กูร์ตัวที่ทำโดย[[มาร์คานโตนิโอมาร์คันโตนีโอ ราอิมอนดิไรมอนดี]] (Marcantonio Raimondi) ตามแบบมาสเตอร์อิตาลี
 
== อ้างอิง ==