ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปมเอดิเพิส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[File:Gustave Moreau 005.jpg|200px|right|thumb|ภาพ "เอดิเพิสกับสฟิงห์" โดย [[Gustave Moreau|กุสตาฟ มอโร]] เมื่อ [[ค.ศ. 1864]] รักษา ณ [[Metropolitan Museum of Art|พิพิธภัณฑสถานทางศิลปะเมโทรโพลิแทน]]]]
 
คำว่า '''ปมเอดิเพิส''' ({{lang-en|Oedipus complex}}; {{IPA-en|ˈɛdəpəs}}) อธิบายอารมณ์และความคิดซึ่งจิตเก็บไว้ใน[[จิตไร้สำนึก]]โดยการกดเก็บพลวัต (dynamic repression) ซึ่งสนใจความปรารถนาของเด็กในการใฝ่ใจเชิงสังวาสกับบิดามารดาเพศตรงข้ามกับตน คือ ชายดึงดูดกับมารดาของตน หญิงดึงดูดกับบิดาของตน) [[ซิกมุนด์ ฟรอยด์]] ผู้ประดิษฐ์คำว่า "ปมเอดิเพิส" เชื่อว่าปมเอดิเพิสเปป็นความปรารถนาบิดามารดาทั้งในชายและหญิง ฟรอยด์คัดค้านคำว่า "[[ปมอิเล็กตรา]]" ที่[[คาร์ล กุสทัฟ ยุง]]เสนออธิบายปมเอดิเพิสที่ปรากฏในเด็กหญิง ปมเอดิเพิสปรากฏใน[[พัฒนาการความต้องการทางเพศ]]ขั้นที่สาม คือ ขั้นอวัยวะเพศ (อายุ 3–6 ปี) จากทั้งหมดห้าขั้น ได้แก่ (1) ขั้นปาก (2) ขั้นทวารหนัก (3) ขั้นอวัยวะเพศ (4) ขั้นแฝง และ (5) ขั้นสนใจเพศตรงข้าม ซึ่งแลห่งงของความพึงพอใจของลิบิโด (libido) อยู่ในอีโรจีเนียสโซน (erogenous zone) ต่าง ๆ ของกายเด็ก
ในประเด็นด้านทฤษฎีทางจิตวิทยานั้น '''ปมเอดิเพิส''' ({{lang-en|Oedipus complex}}; {{IPA-en|ˈɛdəpəs-ˈkɒmplɛks}}) เป็นเหล่าความคิดและความรู้สึกกังวลอย่างหนักหน่วงที่บุคคลเริ่มใฝ่ใจเชิงสังวาสในบิดาหรือมารดาเพศตรงข้ามกับตน และเริ่มไม่ขัดใจในบิดาหรือมารดาเพศเดียวกับตน อาการเช่นนี้จะพัฒนาขึ้นในเด็กวัยระหว่างสามถึงห้าปี
 
ในทฤษฎี[[จิตวิเคราะห์]]สำนักฟรอยด์คลาสสิก การเลียนแบบบิดามารดาเพศเดียวกันของเด็ก (identification) เป็นการแก้ปมเอดิเพิสและปมอิเล็กตราที่สำเร็จ เป็นประสบการณ์ทางจิตวิทยาสำคัญซึ่งจำเป็นต่อการพัฒนาบทบาทและอัตลักษณ์ทางเพศผู้ใหญ่ ซิกมุนด์ ฟรอยด์ยังเสนอว่า เด็กชายและเด็กหญิงเผชิญปมนี้ต่างกัน เด็กชายในรูปของความวิตกกังวลการตอน (castration anxiety) เด็กหญิงในรูปของความอิจฉาองคชาต (penis envy) และการแก้ไขปมที่ไม่สำเร็จอาจนำไปสู่[[โรคประสาท]] [[โรคใคร่เด็ก]]และรักร่วมเพศ ชายและหญิงที่ติดอยู่ในขั้นเอดิเพิสและอิเล็กตราในพัฒนาการความต้องการทางเพศนั้นอาจถือว่า "ยึดติดมารดา" และ "ยึดติดบิดา" ในชีวิตผู้ใหญ่ ประสบการณ์นี้อาจนำให้เลือกคู่ครองที่เหมือนบิดาหรือมารดาของตน
โดยเด็กจะแสดงอาการหึงหวง และมีปฏิกิริยาในเชิงต้องการครอบครองแม่ไว้เป็นของตัวเองคนเดียว เกิดความรู้สึกชิงชัง อิจฉา และไม่พอใจพ่อของตัวเอง และต้องการที่จะแทนที่ในตำแหน่งของพ่อ ซึ่งระยะนี้ เด็กจะพยายามเลียนแบบพฤติกรรมต่าง ๆ ของพ่อ ไม่ว่าจะเป็นคำพูด การกระทำ หรือรูปแบบการใช้ชีวิตต่าง ๆ เพื่อคาดหวังที่จะเป็นตัวแทนของพ่อ และได้อยู่กับแม่ตลอดไป
 
อาจกล่าวได้ว่า ระยะนี้ เป็นระยะที่สำคัญมาก ต่อพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็ก และเหมาะที่จะปลูกฝังเรื่องต่างๆให้เด็กก็ว่าได้ และโดยปกติ ปมนี้จะคลายไปเองเมื่อเติบโตขึ้น จึงไม่เป็นปัญาหาต่อไป
 
ซึ่งชื่อของทฤษฎีนี้ [[ซิกมุนด์ ฟรอยด์]] นักจิตวิทยาชาวออสเตรีย ผู้ที่เป็นผู้คิดค้นทฤษฎีนี้ได้มาจาก[[เทพปกรณัมกรีก]]เรื่องของ "[[อีดิปุส|เอดิเพิส]]" ที่ฆ่า[[เลเอิส]] บิดาของตนเอง และ[[แต่งงาน]]กับ [[โจคาสตา]] ซึ่งเป็นมารดาแท้ ๆ ของตนโดยเข้าใจผิด ซึ่งต่อมาได้นำความหายนะมาสู่เมืองทั้งเมือง
 
==ดูเพิ่ม==
*[[ปมอีเลกตรา]]
*[[อีดิปุส|เอดิเพิส]]