ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปมเอดิเพิส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์File:Gustave Moreau 005.jpg|200px|right|thumb|ภาพ "เอดิเพิสกับสฟิงซ์ดิเพิสกับสฟิงห์" วาดโดย [[Gustave Moreau|กุสตาฟ มอโร]] เมื่อ [[ค.ศ. 1864]] ปัจจุบันถูกจัดแสดงที่รักษา ณ [[Metropolitan Museum of Art|พิพิธภัณฑสถานทางศิลปะเมโทรโพลิแทน]]]]
{{เพิ่มอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Gustave Moreau 005.jpg|200px|right|thumb|ภาพ "เอดิเพิสกับสฟิงซ์" วาดโดย [[Gustave Moreau|กุสตาฟ มอโร]] เมื่อ [[ค.ศ. 1864]] ปัจจุบันถูกจัดแสดงที่[[Metropolitan Museum of Art|พิพิธภัณฑสถานทางศิลปะเมโทรโพลิแทน]]]]
 
ในประเด็นด้านทฤษฎีทางทฤษฎีจิตวิทยา[[สำนักจิตวิเคราะห์]] อธิบายว่านั้น '''ปมเอดิเพิส''' ({{lang-en|Oedipus complex}}; {{IPA-en|ˈɛdəpəs-ˈkɒmplɛks}}) เป็นเหล่าความคิดและความรู้สึกหมกมุ่นในระดับ[[จิตไร้สำนึก]]กังวลอย่างหนักหน่วงที่บุคคลเริ่มใฝ่ใจเชิงสังวาสในบิดาหรือมารดาเพศตรงข้ามกับตน และเริ่มไม่ขัดใจในบิดาหรือมารดาเพศเดียวกับตน อาการเช่นนี้จะพัฒนาขึ้นในเด็กชายวัยระหว่างสามถึงห้าปี โดยเด็กจะแสดงอาการหึงหวง และมีปฏิกิริยาในเชิงต้องการครอบครองแม่ไว้เป็นของตัวเองคนเดียว เกิดความรู้สึกชิงชัง อิจฉา และไม่พอใจพ่อของตัวเอง และต้องการที่จะแทนที่ในตำแหน่งของพ่อ แล้วต่อมาเด็กจะพยายามเลียนแบบพฤติกรรมต่าง ๆ ของพ่อ ไม่ว่าจะเป็นคำพูด การกระทำ หรือรูปแบบการใช้ชีวิตต่าง ๆ เพื่อคาดหวังจะเป็นตัวแทนของพ่อ และได้อยู่กับแม่ตลอดไป อาจกล่าวได้ว่า ระยะนี้เป็นระยะที่สำคัญมากต่อพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็ก และเป็นขั้นตอนหัวเลี้ยวหัวต่อที่เหมาะที่จะปลูกฝังเรื่องต่างๆ ให้เด็ก นักจิตวิเคราะห์สำนักนี้เชื่อว่า โดยปกติ เมื่อเด็กชายเติบโตขึ้นและมีพัฒนาการทางจิตไปอย่างถูกต้อง ปมนี้จะคลายไปเองเมื่อเด็กเริ่มยอมรับหรือผูกพันตนเองกับบุคลิกของผู้เป็นพ่อโดยยอมรับเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของบุคลิกของตนในระดับจิตสำนึก (แทนที่จะเป็นแรงขับดันในระดับจิตไร้สำนึก) และพยายามทำตัวเลียนแบบพ่อแทนที่จะชิงชังพ่อ ทำให้ปมดังกล่าวไม่เป็นปัญหาต่อไป
 
โดยเด็กจะแสดงอาการหึงหวง และมีปฏิกิริยาในเชิงต้องการครอบครองแม่ไว้เป็นของตัวเองคนเดียว เกิดความรู้สึกชิงชัง อิจฉา และไม่พอใจพ่อของตัวเอง และต้องการที่จะแทนที่ในตำแหน่งของพ่อ ซึ่งระยะนี้ เด็กจะพยายามเลียนแบบพฤติกรรมต่าง ๆ ของพ่อ ไม่ว่าจะเป็นคำพูด การกระทำ หรือรูปแบบการใช้ชีวิตต่าง ๆ เพื่อคาดหวังที่จะเป็นตัวแทนของพ่อ และได้อยู่กับแม่ตลอดไป
ชื่อของทฤษฎีนี้ ผู้คิดค้นคือ นายแพทย์ [[ซิกมุนด์ ฟรอยด์]] [[จิตแพทย์]]และนักจิตวิทยาชาวออสเตรีย ได้นำมาจาก[[เทพปกรณัมกรีก]]เรื่องของ "[[อีดิปุส|เอดิเพิส]]" ที่ฆ่า[[เลเอิส]] บิดาของตนเอง และแต่งงานกับ[[โจคาสตา]] ซึ่งเป็นมารดาแท้ ๆ ของตนโดยเข้าใจผิด และต่อมาได้นำโศกนาฏกรรมและความหายนะมาสู่นครธีบิสทั้งเมือง
 
อาจกล่าวได้ว่า ระยะนี้ เป็นระยะที่สำคัญมาก ต่อพัฒนาการการเรียนรู้ของเด็ก และเหมาะที่จะปลูกฝังเรื่องต่างๆให้เด็กก็ว่าได้ และโดยปกติ ปมนี้จะคลายไปเองเมื่อเติบโตขึ้น จึงไม่เป็นปัญาหาต่อไป
ทฤษฎีนี้ถูกคัดค้านและปฏิเสธจากนักจิตวิทยาหลายคน แต่ตัวฟรอยด์เองกลับเชื่อมั่น พร้อมกับทำการวิจัยค้นคว้าจนสามารถเผยแพร่ออกมาได้ในที่สุด
 
ซึ่งชื่อของทฤษฎีนี้ ผู้คิดค้นคือ นายแพทย์ [[ซิกมุนด์ ฟรอยด์]] [[จิตแพทย์]]และนักจิตวิทยาชาวออสเตรีย ผู้ที่เป็นผู้คิดค้นทฤษฎีนี้ได้นำมาจาก[[เทพปกรณัมกรีก]]เรื่องของ "[[อีดิปุส|เอดิเพิส]]" ที่ฆ่า[[เลเอิส]] บิดาของตนเอง และ[[แต่งงาน]]กับ [[โจคาสตา]] ซึ่งเป็นมารดาแท้ ๆ ของตนโดยเข้าใจผิด และซึ่งต่อมาได้นำโศกนาฏกรรมและความหายนะมาสู่นครธีบิสทั้งเมืองเมืองทั้งเมือง
สืบจากทฤษฎีนี้ [[คาร์ล ยุง|คาร์ล กุสทัฟ ยุง]] นักจิตวิเคราะห์ร่วมสมัยและศิษย์ของฟรอยด์ ได้พัฒนาอีกทฤษฎีหนึ่งที่เหมือนกับด้านกลับของปมเอดิเพิส และมุ่งศึกษาพัฒนาการทางจิตในเด็กหญิง เรียกว่า [[ปมอีเลกตรา]] (Electra complex) ที่เชื่อว่า เด็กหญิงจะรู้สึกชิงชิงแม่ของตัวเอง เพราะรู้สึกอิจฉาที่ตัวเองไม่มี[[องคชาต]]เหมือนเด็กผู้ชาย ด้วยคิดว่าแม่เป็นฝ่ายเอาองคชาติของตนเองไป แต่เช่นเดียวกันกับในเด็กชาย นักจิตวิทยาสำนักนี้เชื่อว่าปมดังกล่าวจะคลี่คลายไปเองเมื่อเด็กหญิงเติบโตขึ้นและสามารถยอมรับแม่ได้ อย่างไรก็ดี บุคคล (ทั้งหญิงและชาย) ที่มีปมเหล่านี้ฝังใจจนโตเป็นผู้ใหญ่ อาจจะมี[[อาการสับสนทางเพศ]]ได้<ref>[http://rama41.ob.tc/-View.php?N=322 Psychosexual development ของ Sigmund Freud]</ref>
 
สืบจากทฤษฎีฤษฎีนี้ [[คาร์ล ยุง|คาร์ล กุสทัฟ ยุง]] นักจิตวิเคราะห์ร่วมสมัยและศิษย์ของฟรอยด์ ก็ได้พัฒนาอีกมีอีกทฤษฎีหนึ่งที่เหมือนกับด้านกลับของปมเอดิเพิส และมุ่งศึกษาพัฒนาการทางจิตในเด็กหญิงตรงข้าม เรียกว่า [[ปมอีเลกตรา]] (Electra complex) ที่เชื่อว่า ว่าด้วยเด็กหญิง[[ผู้หญิง]]จะรู้สึกชิงชิงแม่ของตัวเอง เพราะรู้สึกอิจฉาที่ตัวเองไม่มี[[องคชาตองคชาติ]]เหมือนเด็กผู้ชาย ด้วยคิดว่าแม่เป็นฝ่ายเอาองคชาติของตนเองไป แต่เช่นเดียวกันกับในเด็กชาย นักจิตวิทยาสำนักนี้เชื่อว่าปมดังกล่าวจะคลี่คลายไปเองเมื่อเด็กหญิงเติบโตขึ้นและสามารถยอมรับแม่ได้ อย่างไรก็ดี ซึ่งบุคคล (ทั้งหญิงและชาย) ที่มีปมเหล่านี้[[ฝังใจ]]จนโตเป็นผู้ใหญ่ อาจจะมี[[อาการสับสนทางเพศ]]ได้<ref>[http://rama41.ob.tc/-View.php?N=322 Psychosexual development ของ Sigmund Freud]</ref>
== ดูเพิ่ม ==
* [[ปมอีเลกตรา]]
* [[อีดิปุส|เอดิเพิส]]
 
== ดูเพิ่ม ==
== อ้างอิง ==
* [[ปมอีเลกตรา]]
* [[อีดิปุส|เอดิเพิส]]
 
{{เพิ่ม==อ้างอิง}}==
{{รายการอ้างอิง}}