ผลต่างระหว่างรุ่นของ "องค์การบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Aefgh3962 (คุย | ส่วนร่วม)
{{lang-km|អាជ្ញាធរអន្តរកាលសហប្រជាជាតិនៅកម្ពុជា}}
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล อดีตประเทศ
|native_name = អាជ្ញាធរអន្តរកាលសហប្រជាជាតិនៅកម្ពុជា
|native_name = Kâmpŭchea
|conventional_long_name = องค์กรบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชา
|common_name = กัมพูชา
บรรทัด 36:
{{ประวัติศาสตร์กัมพูชา}}
 
'''องค์กรบริหารชั่วคราวแห่งสหประชาชาติในกัมพูชา''' ({{lang-en|United Nations Transitional Authority in Cambodia; '''UNTAC'''}}, {{lang-km|អាជ្ញាធរអន្តរកាលសហប្រជាជាតិនៅកម្ពុជា; '''អ.អ.ស.ប.ក.'''}}) เป็นปฏิบัติการรักษาสันติภาพของ[[สหประชาชาติ]]ใน[[กัมพูชา]]ระหว่าง พ.ศ. 2535 - 2536 และเป็นครั้งแรกที่สหประชาชาติเข้ามาจัดการการปกครองของรัฐที่เป็นเอกราชเพื่อจัดการเลือกตั้ง มีสถานีวิทยุและคุกเป็นของตนเองและสามารถรับผิดชอบและสนับสนุน[[สิทธิมนุษยชน]]ในระดับนานาชาติ
 
ประเทศที่เข้าร่วมในอันแทกได้แก่ แอลจีเรีย อาร์เจนตินา ออสเตรเลีย ออสเตรีย บังกลาเทศ เบลเยียม บรูไน บัลแกเรีย แคเมอรูน แคนาดา สาธารณรัฐประชาชนจีน ชิลี ฝรั่งเศส เยอรมัน กานา อินเดีย อินโดนีเซีย ไอร์แลนด์ ญี่ปุ่น มาเลเซีย เนเธอร์แลนด์ นิวซีแลนด์ ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ โปแลนด์ สหพันธรัฐรัสเซีย เซเนกัล ไทย ตูนีเซีย สหราชอาณาจักร สหรัฐอเมริกา และอุรุกวัย <ref>[http://www.un.org/en/peacekeeping/sites/medals/untac.htm UN Medals - UNTAC]</ref> ทั้งนี้ สหประชาชาติส่งคณะผู้ปฏิบัติการล่วงหน้าในกัมพูชาเพื่อเข้าไปสำรวจและเตรียมการณ์ก่อนที่อันแทกจะเข้าไปจัดการเลือกตั้งเมื่อ วันที่ 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2535<ref>วัชรินทร์ ยงศิริ.สัมพันธภาพใหม่ไทย-กัมพูชา ใน กัมพูชา วันวารที่ผันเปลี่ยน. ศรีบูรณ์คอมพิวเตอร์กราฟิก. 2545 หน้า 284 – 288</ref>