ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระเจ้ามูยอลแห่งซิลลา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
'''พระเจ้ามูยอล''' (ครองราชย์ ค.ศ. 654 - ค.ศ. 661) กษัตริย์ลำดับที่ 29 แห่ง[[อาณาจักรซิลลา]] หนึ่งในสามก๊กแห่งเกาหลี
 
พระเจ้ามูยอล มีพระนามเดิมว่า '''คิม ชุน ชู''' เป็นพระโอรสของ [[องค์หญิงชอนมยอง]] กับ [[คิม ยอง ซู]] ทรงขึ้นครองราชย์ต่อจาก[[พระราชินีจินด๊อกแห่งซิลลา]] ทรงอภิเษกกับมุนมยอง น้องสาวของ[[คิม ยูชิน]] ที่ต่อมาได้เป็นแม่ทัพแห่งอาณาจักรซิลลา เป็นกำลังสำคัญที่ช่วยโอรสของพระองค์ คือเจ้าชายคิม บย็อพมิน รวบรวมทั้งสามก๊กก่อตั้งเป็นอาณาจักร และสถาปนาพระองค์เป็น [[พระเจ้ามูนมูแห่งซิลลามุนมูแห่งซิลลา]]
 
พระเจ้ามูยอล ทรงมีความต้องการที่จะ รวม3แคว้นให้เป็นหนึ่งเดียว ก่อนพระองค์จะครองราชย์
พระเจ้ามูยอลทรงมีความต้องการที่จะรวม 3 แคว้นให้เป็นหนึ่งเดียวก่อนพระองค์จะครองราชย์ทรงได้กราบทูลองค์ราชินีจินต๊อกเพื่อไปยัง [[ราชวงศ์ถัง]] เพื่อผูกความสัมพันธ์ระหว่าง 2 ประเทศซึ่งขณะนั้นชิลลาต้องเผชิญกับการสู้รบกับแพคเจพระองค์ทรงได้เข้าพบกับฮ่องเต้ถังไท่จงและได้ทำสัญญาเมื่อไรที่ชิลลาจะยกทัพไปยังแพคเจ คเจพระองค์จะส่งทหารจากถังไปช่วยชิลลา ลลาแต่ในขณะนั้นพระองค์ต้องเจอกับแรงกดดันจากเหล่าขุนนางแห่งชิลลา ลลาเนื่องจากไม่เห็นด้วยกับการที่ต้องพึ่งราชวงศ์ถัง ในการทำสงคราม ทั้งนี้ รวมถึงแม่ทัพคิมยูชิน คิมยูชินซึ่งทั้งคู่จึงมีความสัมพันธ์ที่ไม่ค่อยดีในเวลานั้น อันผลจากในขณะนั้นพระองค์ยังเป็นเพียงแค่ขุนนางเท่านั้น ทั้งยังเอาใจถังโดยการให้ราชสำนักชิลลาแต่แต่งชุดขุนนางถัง และที่สำคัญยังใช้ศักราช เป็นของถัง ทำให้เหล่าขุนนางคิดว่า คิมชุนชู (หรือพระเจ้ามูยอล) มีการทำสัญญาลับๆลับ ๆ เพื่อที่จะยกชิลลาให้ถัง แต่ด้วยความที่องค์ราชินีจินต๊อกเชื่อใจพระองค์ จึงร่วมกันผลักดัน นโยบายของคิมชุนชู
ทรงได้กราบทูลองค์ราชินีจินต๊อก เพื่อไปยังราชวงศ์ถัง เพื่อผูกความสัมพันธ์ระหว่าง2ประเทศ ซึ่งขณะนั้น
จนในปี ค.ศ.654 [[คิมอัลชอน]] ได้จัดการประชุมผู้นำเหล่าจินกอ ตอนแรกนั้นข้าราชบริพารได้แนะนำให้คิมอัลชอนขึ้นครองราชย์ต่อแต่เนื่องด้วยอัลชอลได้ร่วมมือกับทาง [[โคกุรุยอกูรยอ]]
ชิลลาต้องเพชิญกับการสูรบกับแพคเจ พระองค์ทรงได้ เข้าพบกับ ฮ่องเต้ถังไท่จง และได้ทำสัญญาเมื่อไรที่ชิลลา
เพื่อร่วมกันกำจัดถังและคิมชุนชู คิมชุนชูทำให้แม่ทัพใหญ่อย่างคิมยูชินได้โต้แย้งไม่ยอมรับการเป็นผู้สำเร็จราชการ แต่ด้วยอัลชอนสำนึกผิดต่อเหตุการณ์จึงปฏิเสธไปทำให้คิมชุนชูได้ขึ้นครองราชย์ต่อและได้เปลี่ยนพระนามเป็น [[พระเจ้ามูยอล]] เมื่อคิมชุนชูขึ้นครองราชย์ คิมชุนชูได้ยกลูกสาวคนที่ 3 ของตนเองให้แต่งงานกับคิมยูชิน คิมยูชินที่อยู่ในวัย 59 ปีทั้งนี้เพื่อเป็นการสานสัมพันธไมตรี เนื่องจากขณะนั้นอำนาจทางการทหารส่วนมากอยู่ภายใต้อำนาจของคิมยูชิน
จะยกทัพไปยังแพคเจ พระองค์จะส่งทหารจากถังไปช่วยชิลลา แต่ในขณะนั้นพระองค์ต้องเจอกับแรงกดดันจากเหล่าขุนนางแห่งชิลลา เนื่องจากไม่เห็นด้วยกับการที่ต้องพึ่งราชวงศ์ถัง ในการทำสงคราม ทั้งนี้ รวมถึงแม่ทัพคิมยูชิน ซึ่งทั้งคู่จึงมีความสัมพันธ์ที่ไม่ค่อยดีในเวลานั้น อันผลจากในขณะนั้นพระองค์ยังเป็นเพียงแค่ขุนนางเท่านั้น ทั้งยังเอาใจถังโดยการให้ราชสำนักชิลลาแต่ชุดขุนนางถัง และที่สำคัญยังใช้ศักราช เป็นของถัง ทำให้เหล่าขุนนางคิดว่า คิมชุนชู(หรือพระเจ้ามูยอล)มีการทำสัญญาลับๆเพื่อที่จะยกชิลลาให้ถัง แต่ด้วยความที่องค์ราชินีจินต๊อกเชื่อใจพระองค์ จึงร่วมกันผลักดัน นโยบายของคิมชุนชู
 
จนในปี ค.ศ.654 คิมอัลชอน ได้จัดการประชุมผู้นำเหล่าจินกอ ตอนแรกนั้นข้าราชบริพารได้แนะนำให้คิมอัลชอนขึ้นครองราชย์ต่อแต่เนื่องด้วยอัลชอลได้ร่วมมือกับทางโคกุรุยอ
ซึ่งพระองค์ได้สัญญากับคิมยูชินไว้ว่า หากเมื่อทำสงครามกับแพคเจสิ้นสุดลงแล้ว และรวมถึงการรวม 3 อษณษจักรแล้ว อาณาจักรแล้วหาก ถัง เข้าแทรกแทรง แทรกแซงทางการเมืองหรือ เป็นปรปักษ์ต่อ 3อาณาจักร อาณาจักรคิมยูชินจะสามารถยกกองทัพโจมตีถังได้ทันที ด้วยเหตุนี้ทำให้ คิมยูชิน เข้าใจในพระองค์ {{กษัตริย์ราชวงศ์ซิลลา}}
เพื่อร่วมกันกำจัดถังและคิมชุนชู ทำให้แม่ทัพใหญ่อย่างคิมยูชินได้โต้แย้งไม่ยอมรับการเป็นผู้สำเร็จราชการ แต่ด้วยอัลชอนสำนึกผิดต่อเหตุการณ์จึงปฏิเสธไปทำให้คิมชุนชูได้ขึ้นครองราชย์ต่อและได้เปลี่ยนพระนามเป็น พระเจ้ามูยอล เมื่อคิมชุนชูขึ้นครองราชย์ คิมชุนชูได้ยกลูกสาวคนที่ 3 ของตนเองให้แต่งงานกับคิมยูชิน ที่อยู่ในวัย 59 ปีทั้งนี้เพื่อเป็นการสานสัมพันธไมตรี เนื่องจากขณะนั้นอำนาจทางการทหารส่วนมากอยู่ภายใต้อำนาจของคิมยูชิน
 
ซึ่งพระองค์ได้สัญญากับคิมยูชินไว้ว่า หากเมื่อทำสงครามกับแพคเจสิ้นสุดลงแล้ว และรวมถึงการรวม3 อษณษจักรแล้ว หาก ถัง เข้าแทรกแทรง ทางการเมืองหรือ เป็นปรปักษ์ต่อ3อาณาจักร คิมยูชินจะสามารถยกกองทัพโจมตีถังได้ทันที ด้วยเหตุนี้ทำให้ คิมยูชิน เข้าใจในพระองค์ {{กษัตริย์ราชวงศ์ซิลลา}}
ค.ศ. 660 ภายใต้การปกครองของพระเจ้ามูยอล ที่ครอบครองอำนาจทางการเมืองของอาณาจักรชิลลาได้อย่างเด็ดขาดและการนำทัพของนักการทหารผู้มากความสามารถอย่างคิมยูชินซึ่งได้วางแผนผนึกกำลังกับราชวงศ์ถังเข้าโจมตีอาณาจักรแพคเจ ภายใต้การนำทัพโดยคิมยูชินกองทัพพันธมิตร ถัง – ซิลลา
ซึ่งมีรี้พลร่วมสองแสนนายเข้าโจมตีแพคเจและยึดเมืองซาบี เมืองหลวงของแพคเจ คเจรวมทั้งจับตัวพระเจ้าอุยจา อึยจา
ผู้มากความสามารถอย่าง คิมยูชิน ซึ่งได้วางแผนผนึกกำลังกับราชวงศ์ถังเข้าโจมตีอาณาจักรแพคเจ ภายใต้การนำทัพโดยคิมยูชิน กองทัพพันธมิตร ถัง – ซิลลา
กษัตริย์องค์สุดท้ายของแพคเจรวมทั้งพระราชวงศ์เกือบทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานจากนั้น ประชาชนทางภาคเหนือของแพคเจก็ได้ก่อกบฏต่อต้านการปกครองของต้าถังกับซิลลา โดยแม่ทัพชาวแพคเจ ชื่อ บ็อคซิน ได้พยายามนำกองทหารเข้ายึดเมืองทั้งสี่สิบเมืองที่เสียไป กลับคืน ทั้งยังได้อัญเชิญเจ้าชายบูโยปังที่ประทับอยู่ที่ญี่ปุ่นมาเป็นประมุขของกองกำลังกู้ชาติและสถาปนาเจ้าชายขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่ของแพคเจ
ซึ่งมีรี้พลร่วมสองแสนนายเข้าโจมตีแพคเจและยึดเมืองซาบี เมืองหลวงของแพคเจ รวมทั้งจับตัวพระเจ้าอุยจา
 
กษัตริย์องค์สุดท้ายของแพคเจรวมทั้งพระราชวงศ์เกือบทั้งหมดได้ อย่างไรก็ตาม ไม่นานจากนั้น ประชาชนทางภาคเหนือของแพคเจก็ได้ก่อกบฏต่อต้านการปกครองของต้าถังกับซิลลา โดยแม่ทัพชาวแพคเจ ชื่อ บ็อคซิน ได้พยายามนำกองทหารเข้ายึดเมืองทั้งสี่สิบเมืองที่เสียไป กลับคืน ทั้งยังได้อัญเชิญเจ้าชายบูโยปังที่ประทับอยู่ที่ญี่ปุ่นมาเป็นประมุขของกองกำลังกู้ชาติและสถาปนาเจ้าชายขึ้นเป็นกษัตริย์องค์ใหม่ของแพคเจ
 
ค.ศ. 661 พระเจ้ามูยอลเสด็จสวรรคต พระเจ้ามุนมูลูกชายของพระเจ้ามูยอลก็ขึ้นครองราชย์สืบต่อมา และในปีเดียวกันในเดือนสิงหาคม ปี ค.ศ.661 แม่ทัพอาเบะโนะฮิราฟุพร้อมเรือรบ170ลำและทหาร 5,000 นายได้มาถึงเขตควบคุมของกองกำลังกู้ชาติแพคเจ ก่อนที่กำลังทหารญี่ปุ่น 27000 นายที่นำโดยคามิสึเคโนะโนะคิมิวะคะโคะและกองทหารอีกหนึ่งหมื่นนายที่นำโดยโอะฮาระโนะคิมิจะมาถึงในต้นปี ค.ศ.662
 
== การรวบรวม 3 อาณาจักร ==
ค.ศ.662 แม้ว่ากองกำลังกู้ชาติจะประสบความสำเร็จในการต่อต้านกองทัพถังและซิลลา ทว่าในปี
พวกเขาก็เกิดปัญหาขัดแย้งภายใน อีกทั้งเมืองหลวงใหม่ที่ป้อมชูริวก็ถูกข้าศึกปิดล้อมและในระหว่างนั้นเองแม่ทัพบ็อคซินก็ถูกสังหาร