ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอนแทรกซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘(?mi)\{\{Link GA\|.+?\}\}\n?’ ด้วย ‘’: เลิกใช้ เปลี่ยนไปใช้วิกิสนเทศ
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
}}
 
'''แอนแทรกซ์''' ({{lang-en|Anthrax}}) เป็นโรคเฉียบพลันซึ่งเกิดจาก[[แบคทีเรีย]] ''[[Bacillus anthracis]]'' รูปแบบส่วนใหญ่ของโรครุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต และมีผลต่อทั้งมนุษย์และสัตว์อื่น ปัจจุบันมี[[วัคซีน]]ที่มีประสิทธิภาพต่อแอนแทรกซ์แล้ว และโรคบางรูปแบบสนองดีต่อการรักษาปฏิชีวนะ
 
เช่นเดียวกับแบคทีเรียอีกหลายชนิดใน[[จีนัสบาซิลลัสนัส]][[บาซิลลัส]] ''Bacillus anthracis'' สามารถสร้าง[[เอนโดสปอร์]]พักตัว (มักเรียกสั้น ๆ ว่า "สปอร์" แต่ระวังสับสนกับ[[สปอร์]]ของ[[ฟังไจ]]) ซึ่งสามารถมีชีวิตอยู่ได้ในสภาพแวดล้อมโหดร้ายเป็นทศวรรษหรือกระทั่งศตวรรษ<ref>{{cite news |title=Crossrail work stopped after human bones found on site |newspaper=London Evening Standard |url=http://www.thisislondon.co.uk/standard/article-23689394-details/Crossrail+work+stopped+after+human+bones+found+on+site/article.do}}</ref> สปอร์เหล่านี้ถูกพบทั่วทุกทวีปของโลก ยกเว้น[[แอนตาร์กติกา]]<ref>{{cite journal |author=Hudson JA, Daniel RM, Morgan HW |title=Acidophilic and thermophilic ''Bacillus'' strains from geothermally heated antarctic soil |journal=FEMS Microbiol Lett |volume=60 |issue=3 |pages=279–282 |year=2006 }}</ref> เมื่อสปอร์ถูกสูดหรือกินเข้าไปในร่างกายสิ่งมีชีวิต หรือสัมผัสกับบาดแผลตรงผิวหนังของโฮสต์ (host) สปอร์เหล่านี้อาจมีปฏิกิริยาและเพิ่มจำนวนอย่างรวดเร็ว
 
สัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมกินพืชทั้งที่เป็นสัตว์ป่าและสัตว์บ้านพบติดเชื้อแอนแทรกซ์ที่รับสปอร์เข้าทางปากหรือจมูกขณะกำลังกินหญ้า คาดกันว่าการกินเป็นทางที่สัตว์กินพืชติดต่อกับแอนแทรกซ์มากที่สุด สัตว์กินพืชที่อาศัยอยู่ในสภาพแวดล้อมเดียวกันอาจติดเชื้อจากการกินสัตว์ที่ติดเชื้อแล้ว สัตว์ที่ป่วยสามารถแพร่แอนแทรกซ์แก่มนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อโดยตรงหรือโดยการบริโภคเนื้อของสัตว์ที่ติดเชื้อ
 
สปอร์แอนแทรกซ์สามารถผลิตในแบบ in vitro (นอกร่างกาย) และใช้เป็น[[อาวุธชีวภาพ]]ได้ แอนแทรกซ์ไม่แพร่โดยตรงจากสัตว์หรือคนที่ติดเชื้อไปยังอีกคนหรือตัวหนึ่ง แต่แพร่โดยสปอร์ สปอร์เหล่านี้สามารถส่งผ่านได้โดยเสื้อผ้าหรือรองเท้า ร่างกายของสัตว์ที่มีแอนแทรกซ์อยู่ในช่วงที่ตายสามารถเป็นแหล่งสปอร์แอนแทรกซ์ได้
 
== อ้างอิง ==