ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เซาท์ออสซีเชีย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 77:
}}
 
'''เซาท์ออสซีเชีย''' ({{lang-en|South Ossetia}}) เป็นรัฐที่ได้รับการรับรองบางส่วนในเซาท์คอเคซัส ตั้งอยู่ในดินแดนมณฑลปกครองตนเองเซาท์ออสซีเชียในอดีตสาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตจอร์เจีย
'''เซาท์ออสซีเชีย''' เป็นดินแดนบนชายฝั่งตะวันออกของ[[ทะเลดำ]] และเป็นที่ตั้งของสาธารณรัฐเซาท์ออสซีเชีย ซึ่งเป็นประเทศที่มีอยู่เพียงไม่กี่ประเทศเท่านั้นที่ให้การรับรอง ได้แก่ [[รัสเซีย]] [[เวเนซุเอลา]] [[นิการากัว]] [[นาอูรู]] [[อับฮาเซีย]] และ[[ทรานส์นีสเตรีย]] (สองประเทศหลังนี้ ประเทศส่วนใหญ่ก็ไม่ได้ให้การรับรองเช่นกัน) รัฐบาล[[จอร์เจีย]]ถือว่าเซาท์ออสซีเชียอยู่ภายใต้[[อำนาจอธิปไตย]]ของตน โดยมีสถานะเป็น[[สาธารณรัฐปกครองตนเอง]] ซึ่งเป็นรูปแบบที่นิยมกันใน[[สหภาพโซเวียต|ประเทศอดีตสหภาพโซเวียต]] เมื่อวันที่ 28 สิงหาคม ค.ศ. 2008 รัฐสภาจอร์เจียได้ลงมติให้ประกาศว่าเซาท์ออสซีเชียเป็นดินแดนของจอร์เจียที่ถูกรัสเซียเข้ายึดครอง
{{หลังสงครามเย็น}}
South Ossetia นั้นพยายามแยกตัวจากจอร์เจียมานานแล้ว สงครามใหญ่ครั้งแรกระหว่างจอร์เจียและเซาท์ออสเซเทียหลังสงครามเย็นเกิดขึ้นในช่วงปี ค.ศ.1991 - 1992 และจบลงด้วยการที่ UN จัดตั้งกองกำลังรักษาสันติภาพจากทั้งรัสเซีย จอร์เจียและเซาท์ออสเซเทียมารักษาความสงบ แต่สันติภาพอยู่ได้ไม่นาน
ในช่วงปี ค.ศ.2008 จอร์เจียมีท่าทีเอียงตะวันตก สถานการณ์เริ่มตึงเครียดเมื่อ NATO รับรองเอกราชให้โคโซโวจากเซอร์เบีย รัสเซียก็ตอบโต้ด้วยการรับรองเอกราชให้อับคาเซียและเซาท์ออสเซเทียบ้างแต่ไม่ได้ดำเนินการอะไรมากกว่านั้น
จอร์เจียเชื่อว่าตัวเองได้รับการสนับสนุนจากสหรัฐฯและ NATO (จอร์เจียเป็นชาติหนึ่งที่ส่งทหารไปอิรักด้วย) จึงเคลื่อนกำลังทหารเข้าปราบปรามเซาท์ออสเซเทียอย่างรุนแรง ประธานาธิบดีรัสเซียขณะนั้นคือเมดเวเดฟจึงสั่งให้กองทัพรัสเซียเข้าแทรกแซง (ปูตินตอนนั้นดูโอลิมปิกอยู่ที่ปักกิ่งพึ่งกลับมาบัญชาการภายหลัง) ใช้เวลาเพียง 5 วันสั่งสอนกองทัพจอร์เจียจนแตกกระจัดกระจายแล้วประกาศให้แคว้นอับคาเซียกับเซาท์ออสเซเทียเป็นเอกราชและตั้งฐานทัพคุมเชิงไว้ด้วย ขณะที่จอร์เจียขอความช่วยเหลือไปยังสหรัฐฯและ NATO แต่ไม่มีใครมาช่วยแม้แต่รายเดียว (หลังจากนั้นจอร์เจียก็ขับประธานาธิบดีที่นิยมตะวันตกคือนาย Saakashvili ออกจากตำแหน่งและดำเนินคดีในฐานะอาชญากรสงคราม ปรากฏว่าตะวันตกช่วยเขาจากทางการจอร์เจียและตอนนี้ก็ส่งไปเป็นหุ่นเชิดอยู่ในยูเครนแทน ส่วนจอร์เจียก็รักษาท่าทีสงบเสงี่ยมมานับแต่นั้น) ทหารรัสเซียยังขนอาวุธของอดีตโซเวียตที่ยึดได้กลับประเทศด้วยแต่อาวุธแบบตะวันตกที่ยึดได้เช่นปืน M16 , M4 นั้นทหารรัสเซียเผาทิ้ง
แม้จะมีเพียงรัสเซียและพันธมิตรไม่กี่ประเทศเท่านั้นที่รับรองประเทศอับคาเซียและเซาท์ออสเซเทีย (ซึ่งก็เป็นหนึ่งในประเทศที่รับรองกันเองด้วย) ขณะที่จอร์เจียถือว่าดินแดนดังกล่าวยังเป็นของจอร์เจียอยู่แต่ถูกรัสเซียยึดครอง
 
เซาท์ออสซีเชียประกาศเอกราชจากจอร์เจียในปี 2533 เรียกตนเองว่า '''สาธารณรัฐเซาท์ออสซีเชีย''' รัฐบาลจอร์เจียสนองโดยเลิกอัตตาณัติของเซาท์ออสซีเชียและพยายามสถาปนาการควบคุมเหนือดินแดนอีกครั้งด้วยกำลัง วิกฤตการณ์บานปลายเป็นสงครามเซาท์ออสซีเชียปี 2534–2535
 
{{เอเชีย}}
เส้น 90 ⟶ 86:
[[หมวดหมู่:ประเทศในเอเชียตะวันตก]]
{{โครงประเทศ}}
{{เซาท์ออสเซเทียจะลงประชามติรวมประเทศกับรัสเซีย}}
ประธานาธิบดีของ South Ossetia นาย Leonid Tibilov แถลงว่าจะจัดให้มีการลงประชามติในการรวมประเทศกับรัสเซียภายในปีนี้ โดยมีจุดประสงค์สองข้อคือ 1.เพื่อให้ชาวออสเซเทียใต้ได้กลับไปรวมกับชาวออสเซเทียเหนือ (North Ossetia) ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของรัสเซียอยู่แล้ว กับ 2.เพื่อป้องกันตัวจากภัยคุกคามโดยเฉพาะ NATO และจอร์เจีย เขายังระบุว่ารัสเซียยังไม่ต้องตอบรับเร็วนักก็ได้แต่ยังไงก็จะจัดประชามติ