ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เลียง ไชยกาล"

ไม่มีคำอธิบายอย่างย่อ
เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 8:
| predecessor = [[สวัสดิ์ ส.สวัสดิเกียรติ]]
| successor = [[มุนี มหาสันทนะ เวชยันต์รังสฤษฎ์]]
| birth_date = [[26 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 24392445]]
| birth_place =
| death_date =[[2 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2529]] (9084 ปี)
| death_place =
| party = [[พรรคประชาชน|ประชาชน]]
บรรทัด 18:
| footnotes =
}}
'''นายเลียง ไชยกาล''' นักการเมืองไทย อดีต[[รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม]] และอดีตหัวหน้า[[พรรคประชาชน]] เป็น[[ผู้แทนราษฎร]]ประเภทที่ 1 ของ[[จังหวัดอุบลราชธานี]]<ref>[http://www.oknation.net/blog/canthai/2007/12/21/entry-2 การเมืองจังหวัดอุบลราชธานี- นักการเมืองดี ศรีอุบล ]</ref> เป็นผู้ที่มีชื่อเสียงลือลั่นจากการเป็นผู้อภิปราย เรื่องการฉวยโอกาสซื้อที่ดินอันเป็น[[ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]] ของ[[คณะราษฎร|พรรคคณะราษฎร์]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2480]] ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นกรณีร้อนทำให้ผู้มีอำนาจหลายคนต้องลาออกรวมไปถึงการ[[การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย|ยุบสภา]]ของ[[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 ของไทย|คณะรัฐบาล]]ด้วย ซึ่งเป็นการยุบสภาครั้งแรกในประวัติศาสตร์การเมืองไทย ในส่วนตัวนายเลียงเองก็ถูกจดหมายข่มขู่เอาชีวิต และถูกผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 ที่ถูกแต่งตั้งโดยรัฐบาลจับตัวโยนลงสระน้ำหลังอาคารรัฐสภา ([[พระที่นั่งอนันตสมาคม]]<ref>พายัพ โรจนวิภาต (พ.ศ. 2554), ''ยุคทมิฬ บันทึกนักโทษฝ่ายกบฏบวรเดช''. ISBN 978-6167146-22-5</ref>) ต่อมาได้เข้าสังกัดกับ[[พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2488)|พรรคก้าวหน้า]] ที่มี [[หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช]] เป็นหัวหน้าพรรค
 
นายเลียง เกิดเมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2445 ที่จังหวัดอุบลราชธานี บิดาชื่อ นายสาย มารดาชื่อ นางสำเนียง (นามสกุลเดิม: ณ อุบล) โดยมารดามีศักดิ์เป็นหลานของเจ้าเมืองอุบลราชธานี จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 จากโรงเรียนประจำจังหวัดอุบลราชธานี แล้วได้เดินทางเข้ามาศึกษาต่อวิชาครูยังกรุงเทพมหานคร ได้รับประกาศนียบัตร ประโยคประถม ที่โรงเรียนฝึกหัดครูวัดบวรนิเวศ จังหวัดพระนคร เมื่อปี พ.ศ. 2464 และจบกฎหมายจากมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ก่อนจะเข้าสู่วงการการเมือง<ref>หน้า 10 บทความ-การ์ตูน, ''เลียง ไชยกาล: เจ้าของกระทู้ล้มรัฐบาล''. "ส่วนร่วมสังคมไทย" โดย นรนิติ เศรษฐบุตร. '''เดลินิวส์'''ฉบับที่ 24,228: วันศุกร์ที่ 12 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2559 ขึ้น 5 ค่ำ เดือน 3 ปีมะแม</ref>
 
นายเลียงเป็นผู้ที่มีชื่อเสียงลือลั่นจากการเป็นผู้อภิปราย เรื่องการฉวยโอกาสซื้อที่ดินอันเป็น[[ทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์]] ของ[[คณะราษฎร|พรรคคณะราษฎร์]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2480]] ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นกรณีร้อนทำให้ผู้มีอำนาจหลายคนต้องลาออกรวมไปถึงการ[[การยุบสภาผู้แทนราษฎรไทย|ยุบสภา]]ของ[[คณะรัฐมนตรีคณะที่ 6 ของไทย|คณะรัฐบาล]]ด้วย ซึ่งเป็นการยุบสภาครั้งแรกในประวัติศาสตร์การเมืองไทย ในส่วนตัวนายเลียงเองก็ถูกจดหมายข่มขู่เอาชีวิต และถูกผู้แทนราษฎรประเภทที่ 2 ที่ถูกแต่งตั้งโดยรัฐบาลจับตัวโยนลงสระน้ำหลังอาคารรัฐสภา ([[พระที่นั่งอนันตสมาคม]]<ref>พายัพ โรจนวิภาต (พ.ศ. 2554), ''ยุคทมิฬ บันทึกนักโทษฝ่ายกบฏบวรเดช''. ISBN 978-6167146-22-5</ref>) ต่อมาได้เข้าสังกัดกับ[[พรรคก้าวหน้า (พ.ศ. 2488)|พรรคก้าวหน้า]] ที่มี [[หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช]] เป็นหัวหน้าพรรค
 
ในเหตุการณ์[[กบฏพระยาทรงสุรเดช]] นายเลียงได้มีชื่อว่าเป็นหนึ่งในผู้ต้องหาในการสมคบคิดในการสังหารจอมพล [[แปลก พิบูลสงคราม|ป. พิบูลสงคราม]] ด้วย ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2489]] ที่มีการยุบพรรคก้าวหน้าร่วมกับ[[พรรคประชาธิปัตย์]] นายเลียงก็ได้เข้าเป็นสมาชิกพรรคประชาธิปัตย์ และได้ทำหน้าที่ฝ่ายค้านอย่างแข็งขัน
เส้น 54 ⟶ 58:
{{รัฐมนตรีของไทยที่ไม่ได้ประจำกระทรวง}}
 
{{เกิดปี|24392445}}
{{ตายปี|2529}}
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดอุบลราชธานี‎]]
ผู้ใช้นิรนาม