ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซอสามสาย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
เพิ่มความนำ
บรรทัด 1:
'''ซอสามสาย''' เป็น[[เครื่องดนตรีไทย]]ชนิดหนึ่ง จำพวก[[เครื่องสาย]] มีขนาดใหญ่กว่า[[ซอด้วง]]หรือ[[ซออู้]] และมีลักษณะพิเศษ คือมีสามสาย [[คันชัก]]อยู่ข้างนอก [[กะโหลกซอ]]มีขนาดใหญ่ นับเป็นเครื่องดนตรีที่มีความสง่างามชิ้นหนึ่งในวงเครื่องสาย ผู้เล่นจะอยู่ในตำแหน่งด้านหน้าของวง
ปรากฎหลักฐานจาก[[จดหมายเหตุ]] [[ลาลูแบร์]] (หน้า 30) ที่บันทึกไว้ว่า “''….ชาวสยามมีเครื่องดุริยางค์เล็กๆ น่าเกลียดมาก มีสามสายเรียกว่า “ซอ” ….''” ซึ่งชี้ให้เห็นว่าใน[[สมัยกรุงศรีอยุธยา]]หรือก่อนนั้น มีซอสามสายและนิยมเล่นกัน และลักษณะรูปร่างของซอสามสายก็คงจะยังไม่สวยงามมากอย่างในปัจจุบันนี้ จนมาถึงยุคต้นของกรุงรัตนโกสินทร์ ในสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] รัชกาลที่ 2 สืบเนื่องมาจากที่พระองค์ท่านมีอัจฉริยะในทางด้านศิลปะต่างๆ เช่น ทรงแกะสลักบานประตูพระวิหาร[[วัดสุทัศน์เทพวราราม]]ด้วยฝีพระหัตถ์ของพระองค์เอง อีกประการหนึ่ง พระองค์ท่านยังโปรดทรงซอสามสายเป็นอย่างยิ่ง จึงทำให้พระองค์ท่านได้ประดิษฐ์คิดสร้างซอสามสายได้ด้วยความประณีต งดงาม และเป็นแบบอย่างมาจนถึงปัจจุบันนี้
 
==ประวัติ==
ส่วนต่างๆของซอสามสายมีชื่อเรียกดังนี้
ปรากฎหลักฐานจาก[[จดหมายเหตุ]] [[ลาลูแบร์]] (หน้า 30) ที่บันทึกไว้ว่า “''….ชาวสยามมีเครื่องดุริยางค์เล็กๆ น่าเกลียดมาก มีสามสายเรียกว่า “ซอ” ….''” ซึ่งชี้ให้เห็นว่าในสมัย[[กรุงศรีอยุธยา]]หรือก่อนนั้น มีซอสามสายและนิยมเล่นกัน และลักษณะรูปร่างของซอสามสายก็คงจะยังไม่สวยงามมากอย่างในปัจจุบันนี้
 
ปรากฎหลักฐานจาก[[จดหมายเหตุ]] [[ลาลูแบร์]] (หน้า 30) ที่บันทึกไว้ว่า “''….ชาวสยามมีเครื่องดุริยางค์เล็กๆ น่าเกลียดมาก มีสามสายเรียกว่า “ซอ” ….''” ซึ่งชี้ให้เห็นว่าใน[[สมัยกรุงศรีอยุธยา]]หรือก่อนนั้น มีซอสามสายและนิยมเล่นกัน และลักษณะรูปร่างของซอสามสายก็คงจะยังไม่สวยงามมากอย่างในปัจจุบันนี้ จนมาถึงยุคต้นของ[[กรุงรัตนโกสินทร์]] ในสมัยของ[[พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]] รัชกาลที่ 2 สืบเนื่องมาจากที่พระองค์ท่านมีอัจฉริยะอัจฉริยภาพในทางด้านศิลปะด้านต่างๆ เช่น ทรงแกะสลักบานประตูพระวิหาร[[วัดสุทัศน์เทพวราราม]]ด้วยฝีพระหัตถ์ของพระองค์เอง อีกประการหนึ่ง พระองค์ท่านยังโปรดทรงซอสามสายเป็นอย่างยิ่ง จึงทำให้พระองค์ท่านได้ประดิษฐ์คิดสร้างซอสามสายได้ด้วยความประณีต งดงาม และเป็นแบบอย่างมาจนถึงปัจจุบันนี้
 
;ส่วนต่างๆของซอสามสายมีชื่อเรียกดังนี้
 
# '''ทวนบน''' เป็นส่วนบนสุดของคันซอ คว้านด้านในให้เป็นโพรงโดยตลอด ด้านบนสุดมีรูปร่างเป็นทรงเทริด ทวนบนนี้ เจาะรูด้านข้างสำหรับใส่ลูกบิด 3 ลูก ด้านหน้าตรงปลายทวนตอนล่าง เจาะรูสำหรับร้อยสายซอ ที่สอดออกมาจากรัดอก หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า '''อกซอ''' ทวนบนนี้ทำหน้าที่คล้าย ๆ กับท่ออากาศ (Air column) ให้เสียงที่เกิดจากกะโหลกเป็นความถี่ของเสียง แล้วลอดผ่านออกมาทางทวนบนนี้ได้