ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขของ 223.205.250.88 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย Setawut
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล เชื้อพระวงศ์
| ชื่อ = สมเด็จพระสังฆราชเจ้า <br> กรมหลวงวชิรญาณวงศ์
| ภาพ =
| ภาพ = ไฟล์:สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์1.jpg
| พระบรมนามาภิไธย =
| พระนาม = สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์
| พระปรมาภิไธย =
| พระนามเต็ม =
| วันประสูติ = พ.ศ. 2620
| ฐานันดร = หม่อมราชวงศ์
| วันสิ้นพระชนม์ = พ.ศ. 2710
| วันประสูติ = [[22 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2415]]
| พระอิสริยยศ =
| วันสวรรคต =
| พระบิดา = [[สมเด็จพระบรมราชปิตุลา พระองค์เจ้าพัฒนศรี กรมหลวงฝางธรรมมาสิริ]]
| วันสิ้นพระชนม์ = [[11 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2501]] (86 ปี)
| พระมารดา = [[สมเด็จพระราชปิจตุฉา พระองค์เจ้าพันธ์โสภา กรมขุนถลางโสภา]]
| พระอัครมเหสีอิสริยยศ =
| พระมเหสีราชบิดา =
| พระบิดา = หม่อมเจ้าถนอม นพวงศ์
| พระราชสวามี =
| พระราชโอรส/ธิดามารดา =
| พระมารดา = หม่อมเอม (คชเสนี) นพวงศ์ ณ อยุธยา
| ราชวงศ์ = [[สีมา|ราชวงศ์สีมา]
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์จักรี]]
| ทรงราชย์ =
| พิธีบรมราชาภิเษก =
| ระยะเวลาครองราชย์ =
| รัชกาลก่อนหน้า =
| รัชกาลถัดมา =
| วัดประจำรัชกาล =
}}
 
'''สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์''' เป็น[[สมเด็จพระสังฆราช]]พระองค์ที่ 13 แห่ง[[กรุงรัตนโกสินทร์]] ประทับ ณ [[วัดบวรนิเวศราชวรวิหาร]] ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระสังฆราชเมื่อปี [[พ.ศ. 2488]] ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล พระอัฐมรามาธิบดินทร]] ทรงดำรงตำแหน่งอยู่ 14 พรรษา สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ [[11 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2501]] สิริพระชนมายุ 86 พรรษา
'''สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาสิริสมณพัฒน์''' [[สมเด็จพระสังฆราช]] ประสูติเมื่อ [[พ.ศ. 2620]] มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าจดจำ สมฤทธิ์ แต่ต่อมา[[สมเด็จพระราชมาตุจฉา พระองค์เจ้าชบา]] เปลี่ยนให้ว่า ปิติ ต่อมาผนวช และได้สมณศักดิ์เรื่อยมาจนเป็นสมเด็จพระสังฆราช
 
== พระประวัติ ==
=== พระกำเนิด ===
กรมพระยาสิริสมณพัฒน์ ประสูติเมื่อ [[พ.ศ. 2620]] มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าจดจำ สมฤทธิ์ แต่ต่อมา[[สมเด็จพระราชมาตุจฉา พระองค์เจ้าชบา]] เปลี่ยนให้ว่า ปิติ ต่อมาผนวช และได้สมณศักดิ์เรื่อยมาจนเป็นสมเด็จพระสังฆราช
สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ มีพระนามเดิมว่า หม่อมราชวงศ์ชื่น นพวงศ์ เป็นโอรสในหม่อมเจ้าถนอม นพวงศ์ และหม่อมเอม (สกุลเดิม คชเสนี) ประสูติภายในวังของ[[พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้านพวงศ์ กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส]] ([[:หมวดหมู่:ราชสกุลนพวงศ์|ต้นราชสกุลนพวงศ์]]) ในรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เมื่อวันศุกร์ที่ [[22 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2415]] ตรงกับวันแรม 7 ค่ำ เดือน 12 ปีวอก<ref name="เรื่องตั้ง">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง =สมมอมรพันธุ์, พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระ|ชื่อหนังสือ = เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๑|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = กรมศิลปากร|ปี = 2545|ISBN = 974-417-530-3|จำนวนหน้า = 428 |หน้า = 231-2}}</ref> ส่วนหม่อมเอมพระชนนีนั้น เป็นธิดา[[พระยาดำรงราชพลขันธ์ (จุ้ย คชเสนี)]] ซึ่งเป็นบุตร[[เจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรียะ คชเสนี)]]
== ผนวช ==
 
พระองค์ได้ผนวชในปี [[พ.ศ. 2640]] และได้สมณศักดิ์หลังจากนั้นเพียง 20 วัน เท่านั้น
ต่อมาได้ถวายตัวเป็น[[มหาดเล็ก]]ใน[[สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ สยามมกุฎราชกุมาร]] โดยทำหน้าที่เป็น[[คะเดท]] ทหารม้าในกรมทหารมหาดเล็กราชวัลลภ มีหน้าที่ตามเสด็จรักษาพระองค์
== เรื่องอึ้งฉาว ==
 
มีกระแสข่าวว่าพระองค์ไม่ใช่พระโอรสของพระบรมราชปิตุลา แต่[[สมเด็จพระราชมาตุจฉา พระองค์เจ้าชบา]]ทรงยื่นยันว่าพระองค์เป็นพระโอรส
=== ผนวชและศึกษาพระปริยัติธรรม ===
พระองค์บรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดบวรนิเวศวิหาร เมื่อปี พ.ศ. 2428 โดยมี[[พระพรหมมุนี (เหมือน สุมิตฺโต)]] [[วัดบรมนิวาสราชวรวิหาร]] เป็นพระอุปัชฌาย์ แล้วทรงศึกษาพระปริยัติธรรมกับอาจารย์หลายท่าน เช่น [[หม่อมเจ้าประภากร มาลากุล]] พระสุทธสีลสังวร (สาย) และ[[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส]] ทรงเข้าสอบไล่ครั้งแรกเมื่อปีขาล [[พ.ศ. 2433]] ที่[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] สอบไล่ได้[[เปรียญธรรม 5 ประโยค]] ตั้งแต่ยังเป็นสามเณร<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2434/013/104.PDF จำนวนพระสงฆ์สามเณรซึ่งสอบไล่พระปริยัติธรรมได้ ในปี ๑๐๙ ปี ๑๑๐], เล่ม ๘, ตอน ๑๓, ๒๘ มิถุนายน ร.ศ. ๑๑๐, หน้า ๑๐๕</ref> และได้รับพระราชทานพัดเปรียญในวันที่ 29 พฤศจิกายน ร.ศ. 112<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2436/037/400_1.PDF จำนวนพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานพัดเปรียญ], เล่ม ๑๐, ตอน ๓๗, ๑๐ ธันวาคม ร.ศ. ๑๑๒, หน้า ๑๐๕</ref>
 
ต่อมาในปี [[พ.ศ. 2435]] ได้อุปสมบท ณ [[วัดมกุฏกษัตริยารามราชวรวิหาร]] โดย[[พระพรหมมุนี (แฟง กิตฺติสาโร)]] เป็นพระอุปัชฌาย์ [[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส|พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นวชิรญาณวโรรส]] เป็นพระกรรมวาจาจารย์ ผนวชแล้วมาอยู่วัดบวรนิเวศวิหาร
 
ในตอนแรกทรงตั้งพระทัยจะสอบถึงเพียงเปรียญธรรม 5 ประโยคเท่านั้น แต่สมเด็จฯ กรมพระยาวชิรญาณวโรรส โปรดให้สอบต่อ และทรงส่งพระองค์เข้าสอบในปีมะเมีย [[พ.ศ. 2437]] ณ [[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]]<ref name="เรื่องตั้ง ๒">{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = กรมศิลปากร|ชื่อหนังสือ = เรื่องตั้งพระราชาคณะผู้ใหญ่ในกรุงรัตนโกสินทร์ เล่ม ๒|URL = |จังหวัด = กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = กรมศิลปากร|ปี = 2545|ISBN = 974-417-530-3|จำนวนหน้า = 450|หน้า = 18}}</ref> จึงได้อีก 2 ประโยค รวมเป็น[[เปรียญธรรม 7 ประโยค]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2439/027/292.PDF จำนวนพระสงฆ์ที่ได้รับพระราชทานพัดเปรียญ ปเรียญ ๗ ประโยค], เล่ม ๑๓, ตอน ๒๗, ๔ ตุลาคม ร.ศ. ๑๑๕, หน้า ๒๙๒</ref>
 
== พระกรณียกิจ ==
พระองค์ได้มีส่วนร่วมกับสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส มาตั้งแต่ต้น คือ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีพระราชประสงค์บำรุงการศึกษามณฑลหัวเมือง ทรงอาราธนาสมเด็จพระมหาสมณเจ้า ให้ทรงเป็นผู้อำนวยการจัดการศึกษา มีการจัดพิมพ์แบบเรียนต่าง ๆ พระราชทานแก่พระภิกษุสงฆ์ ไปไว้ใช้ฝึกสอน ให้ยกโรงเรียนพุทธศาสนิกชนในหัวเมืองทั้งปวง มารวมขึ้นอยู่ในสมเด็จพระมหาสมณเจ้า เพื่อจะได้เป็นหมวดเดียวกัน พระองค์ขณะที่ดำรงสมณศักดิ์พระสุคุณคุณาภรณ์ ได้เป็นผู้อำนวยการศึกษามณฑลจันทบุรี ต่อมาเมื่อปี [[พ.ศ. 2445]] ได้มีการออกพระราชบัญญัติลักษณะปกครองคณะสงฆ์ ร.ศ. 121 อันเป็นผลเนื่องมาจากการจัดการพระศาสนา และการศึกษาในหัวเมือง
 
พระองค์ทรงเป็นแม่กองสอบไล่พระปริยัติธรรมหลายครั้ง ทั้งในกรุงเทพฯ และหัวเมืองต่างจังหวัด เมื่อ[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า]] ชราและอาพาธ ก็ได้ทรงมอบหน้าที่เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตให้ทรงบัญชาการแทน เมื่อปี พ.ศ. 2477 และเมื่อสมเด็จพระสังฆราชเจ้า ฯ สิ้นพระชนม์เมื่อปี พ.ศ. 2480 พระองค์ก็ได้ทรงเป็นเจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตสืบต่อมา และให้ทรงจัดการปกครองคณะธรรมยุตที่สำคัญหลายประการ
 
เมื่อเป็นสมเด็จพระสังฆราชเจ้าแล้ว ได้ทรงปรับปรุงการปกครองคณะสงฆ์ให้ดียิ่งขึ้น โดยจัดการปกครองคณะสงฆ์ทั้งสองนิกายคือ [[มหานิกาย]]และ[[ธรรมยุติกนิกาย]] เมื่อปี [[พ.ศ. 2494]] ดังนี้
# การปกครองส่วนกลาง คณะสังฆมนตรีคงบริหารรวมกัน แต่การปกครองบังคับบัญชาให้เป็นไปตามนิกาย
# การปกครองส่วนภูมิภาคให้แยกตามนิกาย
 
พระองค์ได้เป็น[[พระอุปัชฌาย์|พระราชอุปัชฌาจารย์]]เมื่อ[[พระราชพิธีทรงผนวชในรัชกาลที่ 9|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จออกผนวชในปี พ.ศ. 2499]] และในงานฉลองพุทธศตวรรษใน[[ประเทศไทย]] รัฐบาล[[ประเทศพม่า]]ได้ถวายสมณศักดิ์สูงสุดของพม่าคือ อภิธชมหารัฏฐคุรุ แด่พระองค์ เมื่อปี [[พ.ศ. 2500]]
 
== ตำแหน่ง ==
* พ.ศ. 2445 ได้รับแต่งตั้งเป็นเจ้าคณะมณฑลจันทบุรี<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2445/016/296.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศตั้งพระราชาคณะเจ้าคณะมณฑล], เล่ม ๑๙, ตอน ๑๖, ๒๐ กรกฎาคม ๒๔๔๕, หน้า ๒๙๗</ref>
* [[พ.ศ. 2467]] ได้เป็นเจ้าคณะมณฑลอยุธยา<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2467/D/4347.PDF ประกาศกระทรวงธรรมการ เรื่องตั้งเจ้าคณะมณฑล], เล่ม ๔๑, ตอน ๐ ง, ๘ มีนาคม ๒๔๖๗, หน้า ๔๓๔๗</ref>
* [[พ.ศ. 2476]] ทรงเป็นประธานมหาเถรสมาคม บัญชาการคณะสงฆ์แทนพระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า
* [[พ.ศ. 2485]] ทรงเป็นประธานคณะวินัยธร ตาม[[พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2484]]
 
== สมณศักดิ์ ==
* พ.ศ. 2439 ได้รับโปรดเกล้าฯ ตั้งเป็น[[พระราชาคณะ]]ที่ ''พระสุคุณคณาภรณ์''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2439/034/409.PDF พระราชพิธีฉัตรมงคล แลพระราชทานพระสุพรรณบัตร หิรัญบัตร แลสัญญาบัตร พระสงฆ์], เล่ม ๑๓, ๓๔, ๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๔, หน้า ๔๑๑</ref>
* พ.ศ. 2640 [[พระสังฆาธิการ]] ที่ ''หม่อมเจ้าพระสมุห์''
* [[พ.ศ. 2446]] ได้เลื่อนสมณศักดิ์เสมอ[[พระราชาคณะชั้นเทพ]]พิเศษที่''พระญาณวราภรณ์ สุนทรศีลวิสุทธินายก ไตรปิฎกเมธา มหาคณฤศร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2446/035/614.PDF การตั้งตำแหน่งสมณะศักดิ์], เล่ม ๒๐, ๒๙ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๒๒, หน้า ๖๑๔</ref>
* พ.ศ. 2650 [[พระครูสัญญาบัตร]] ที่ ''หม่อมเจ้าพระครูสิริธรรมประคุณ''
* พ.ศ. 2451 ลาออกจากหน้าที่พระราชาคณะเพื่อเตรียมลาสิกขาบท<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2451/015/449.PDF แจ้งความกระทรวงธรรมการ แผนกสังฆการี (เรื่อง พระญาณวราภรณ์ลาจากหน้าที่พระราชาคณะ)], เล่ม ๒๕, ตอน ๑๕, ๑๒ กรกฎาคม ร.ศ. ๑๒๗, หน้า ๔๔๙</ref> แต่ยังทรงอาลัยในสมณเพศจึงรั้งรออยู่<ref name="เรื่องตั้ง"/>
* พ.ศ. 2655 [[พระราชาคณะชั้นสามัญ]] ที่ ''หม่อมเจ้าพระสิริธรรมประคุณ''
* พ.ศ. 2454 รับพระราชทานพัดยศเดิมและกลับเขารับราชการตามตำแหน่งเดิม<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2454/D/611.PDF การตั้งตำแหน่งสมณศักดิ์และเปลี่ยนพัดยศ], เล่ม ๒๘, ตอน ๐ ง, ๒๕ มิถุนายน ร.ศ. ๑๓๐, หน้า ๖๑๓</ref>
* พ.ศ. 2660 [[พระราชาคณะชั้นราช]] ที่ ''หม่อมเจ้าพระราชธรรมประคุณ''
* [[พ.ศ. 2455]] ได้เลื่อนสมณศักดิ์เสมอ[[พระราชาคณะชั้นธรรม]]ในราชทินนามเดิม<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2455/A/233.PDF ประกาศตั้งพระราชาคณะ], เล่ม ๒๙, วันที่ ๑๓ พฤศจิกายน ร.ศ. ๑๓๑, หน้า ๒๓๖</ref>
* พ.ศ. 2665 [[พระราชาคณะชั้นเทพ]] ที่ "หม่อมเจ้าพระเทพธรรมประคุณ''
* [[พ.ศ. 2464]] ได้รับสถาปนาสมณศักดิ์เสมอพระราชาคณะชั้นธรรมพิเศษที่ ''พระญาณวราภรณ์ สุนทรธรรมปาโมกข์ ยุตโยคญาณดิลก ไตรปิฎกธารี ธรรมวาทียติคณิศร บวรสังฆาราม คามวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2464/D/1824.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศสถาปนาสมเด็จพระราชาคณะและพระราชาคณะ], เล่ม ๓๘, ๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๔๖๔, หน้า ๑๘๒๖ - ๑๘๒๘</ref>
* พ.ศ. 2670 [[พระราชาคณะชั้นธรรม]] ที่ ''หม่อมเจ้าพระธรรมประคุณ ภาวนาปฏิภาณโกศล โสภณธรรมานุสิฐ พิพัฒน์กิจสุนทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''
* [[พ.ศ. 2471]] โปรดเกล้าฯ สถาปนาเป็น[[สมเด็จพระราชาคณะ]][[เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต|เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุตติกา]] ในพระราชทินนามพิเศษว่า ''สมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ ปาพจนงคญาณวราภรณ์ สุนทรวิสุทธิพรหมจารี ตรีปิฎกธรรมโกศล วิมลศีลขันธ์สรรพสุจิตต์ มหากิริฏราชประนับดา นพวงศวรานุวรรตน์ อุตกฤษฏรัตตัญญูกาพยปฏิภาณ คุโณธารสังฆประมุข ธรรมยุกติกคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี อรัณยวาสี''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2471/A/170.PDF ประกาศสถาปนาสมณศักดิ์], เล่ม ๔๕, ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๗๑, หน้า 173-4</ref>
* พ.ศ. 2675 [[พระราชาคณะเจ้าคณะรอง]] ที่ ''หม่อมเจ้าพระพรหมสุธี ภาวนาวรากูร โสภณสีลาจารโสภณ โกศลปริยัติวิธาน บริหารศาสนกิจ มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''
 
* พ.ศ. 2680 [[สมเด็จพระราชาคณะ]] ที่ ''สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงสิริสมณพัฒน์ ภาวนาพรตวิสุทธิพรหมจรรย์ วิมลศีลขันธ์ธรรมวรยุต ศรีวิสุทธิคณนายก สาสนดิลกธรรมานุวาทย์ บริสัษยนารถสมณุดมบรมบพิตร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี''
* ภายหลังการสิ้นพระชนม์ของ[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)]] ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลได้สถาปนาสมเด็จพระวชิรญาณวงศ์เป็น[[สมเด็จพระสังฆราช]]ในราชทินนามเดิม เมื่อวันที่ [[31 มกราคม]] [[พ.ศ. 2488]]<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2488/A/009/166.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาสมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ ขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราช], เล่ม ๖๒, ตอน ๙ ก, ๖ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๔๘๘, หน้า ๑๖๖</ref>
* พ.ศ. 2685 [[สมเด็จพระสังฆราช]]แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ที่ ''สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาสิริสมณพัตน์ วิสุทธิสงฆคุณาลังการ อริยวงศาคตญาณวิมล สกลมหาสังฆปรินายก ตรีปิฎกกลากุสโลภาส ภูมิพลมหาราชหิโตปัธยาจารย์ สุจิตตาภิธานสังฆวิสุต มหามกุฎมหาราชประนัปดา นพวงศราชกุลาภิวรรธน์ สุขุมอรรถธรรมวิจารปรีชา กาพรจนาฉันทพากยปฏิภาน ปาวจนุตตมญาณวราภรณ์ สุนทรวิสุทธิพรหมจรรย์ วิมลศีลขันธสมาจารวัตร พุทธศาสนิกบริษัทคารวสถาน วิจิตรปฏิภานพัฒนคุณ อดุลยคัมภีรญาณบัณฑิต สรรพคณิสสรมหาปธานาธิบดี ศรีสมณุดมบรมบพิตร คชนาม"
 
* ต่อมาในปี พ.ศ. 2493 พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชได้โปรดเกล้าฯ ให้เฉลิมพระนามเป็น
 
"''สมเด็จพระวชิรญาณวงศ์ วิสุทธิสงฆคุณาลังการ อริยวงศาคตญาณวิมล สกลมหาสังฆปรินายก ตรีปิฎกกลากุสโลภาส ภูมิพลมหาราชสรณคมนาจารย์ สุจิตตาภิธานสังฆวิสุต มหามกุฎมหาราชประนัปดา นพวงศราชกุลาภิวรรธน์ สุขุมอรรถธรรมวิจารปรีชา กาพยรจนาฉันทพากยปฏิภาน ปาวจนุตตมญาณวราภรณ์ สุนทรวิสุทธิพรหมจรรย์ วิมลศีลขันธสมาจารวัตร พุทธศาสนิกบริษัทคารวสถาน วิจิตรปฏิภานพัฒนคุณ อดุลยคัมภีรญาณบัณฑิต สรรพคณิสสรมหาปธานาธิบดี คามวาสี อรัณยวาสี สมเด็จพระสังฆราช''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2493/A/027/484.PDF ประกาศสถาปนาเฉลิมพระนามสมเด็จพระสังฆราช], เล่ม 67, ตอน 27, 9 มกราคม พ.ศ. 2493, หน้า 487</ref>
 
* และในวันที่ [[20 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2499]] [[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สถาปนาพระอิสริยยศขึ้นเป็น[[พระองค์เจ้าต่างกรม]] พร้อมเฉลิมพระนามตามจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2500/A/006/21.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ สถาปนาพระสังฆราชขึ้นเป็นสมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรมหลวง], เล่ม ๗๔, ตอน ๖ ก ฉบับพิเศษ, ๑๒ มกราคม พ.ศ. ๒๕๐๐, หน้า ๒๑ </ref>
 
"''สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ วิสุทธิสงฆคุณาลังการ อริยวงศาคตญาณวิมล สกลมหาสังฆปรินายก ตรีปิฎกกลากุสโลภาส ภูมิพลมหาราชหิโตปัธยาจารย์ สุจิตตาภิธานสังฆวิสุต มหามกุฎมหาราชประนัปดา นพวงศราชกุลาภิวรรธน์ สุขุมอรรถธรรมวิจารปรีชา กาพรจนาฉันทพากยปฏิภาน ปาวจนุตตมญาณวราภรณ์ สุนทรวิสุทธิพรหมจรรย์ วิมลศีลขันธสมาจารวัตร พุทธศาสนิกบริษัทคารวสถาน วิจิตรปฏิภานพัฒนคุณ อดุลยคัมภีรญาณบัณฑิต สรรพคณิสสรมหาปธานาธิบดี ศรีสมณุดมบรมบพิตร คชนาม''"
 
== สิ้นพระชนม์ ==
สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์ สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2501 เวลา 01:08 น. พระศพตั้งบำเพ็ญกุศล ณ ตำหนักเพ็ชร วัดบวรนิเวศวิหาร [[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2501|คณะปฏิวัติ]]ให้สถานที่ราชการทุกแห่งลดธงลงครึ่งเสา 3 วัน และให้ข้าราชการไว้ทุกข์ 15 วันเพื่อถวายความอาลัย<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2501/A/093/1.PDF ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ ๒๕], เล่ม ๗๕, ตอน ๙๓ ก ฉบับพิเศษ, ๑๑ พฤศจิกายน ๒๕๐๑, หน้า ๑</ref> และได้รับพระราชทานเพลิงศพ ณ พระเมรุวัดเทพศิรินราวาส เมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2503<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2503/D/035/2.PDF หมายกำหนดการ ที่ ๗/๒๕๐๓ พระราชทานเพลิงพระศพ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์], เล่ม ๗๗, ตอน ๓๕ ง ฉบับพิเศษ, ๒๕ เมษายน ๒๕๐๓, หน้า ๒</ref>
 
== พระนิพนธ์ ==
ผลงานพระนิพนธ์มีอยู่เป็นจำนวนมาก พอประมวลได้ดังนี้
* [[พ.ศ. 2470]] [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ได้โปรดเกล้า ฯ ให้ชำระ[[พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ]] พระองค์ได้ทรงชำระ 2 เล่ม คือ เล่ม 25 และเล่ม 26
* [[พ.ศ. 2467]] ทรงชำระอรรถกถาชาดก ภาคที่ 3 จากจำนวน 10 ภาค ที่[[สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า]] โปรดให้ชำระพิมพ์
หนังสือที่ทรงนิพนธ์ ได้แก่ ศาสนาโดยประสงค์ พระโอวาทธรรมบรรยาย ตายเกิด ตายสูญ ทศพิธราชธรรม พร้อมทั้งเทวตาทิสนอนุโมทนากถา สังคหวัตถุ จักรวรรดิวัตร และขัตติยพละ พุทธศาสนคติ บทความต่าง ๆ รวมเล่ม ชื่อว่า ความรู้เรื่องพระพุทธศาสนาตั้งแต่เบื้องต้น ทีฆาวุคำฉันท์ และพระธรรมเทศนาที่สำคัญได้แก่ ธรรมเทศนาทศพิธราชธรรม ในการพระราชพิธีธรรมราชาภิเษกพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช พระธรรมเทศนาวชิรญาณวงศ์เทศนา 55 กัณฑ์
 
== พงศาวลี ==
{{ahnentafel top|width=100%|พงศาวลีของสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณวงศ์'''}}
<center>{{ahnentafel-compact5
| style = font-size: 90%; line-height: 110%;
| border = 1
| boxstyle = padding-top: 0; padding-bottom: 0;
| boxstyle_1 = background-color: #fcc;
| boxstyle_2 = background-color: #fb9;
| boxstyle_3 = background-color: #ffc;
| boxstyle_4 = background-color: #bfc;
| boxstyle_5 = background-color: #9fe;
| 1 = 1. '''สมเด็จพระสังฆราชเจ้า<br>กรมหลวงวชิรญาณวงศ์'''
| 2 = 2. หม่อมเจ้าถนอม นพวงศ์
| 3 = 3. หม่อมเอม (คชเสนี) นพวงศ์ฯ
| 4 = 4. พระเจ้าบรมวงศ์เธอฯ<br>กรมหมื่นมเหศวรศิววิลาส
 
| 6 = 6. [[พระยาดำรงราชพลขันธ์ (จุ้ย คชเสนี)|พระยาดำรงราชพลขันธ์<br> (จุ้ย คชเสนี)]]
 
| 8 = 8. พระบาทสมเด็จพระจอม<br>เกล้าเจ้าอยู่หัว
| 9 = 9. เจ้าจอมมารดาน้อย
| 12 = 12. [[เจ้าพระยามหาโยธา (ทอเรียะ คชเสนี)|เจ้าพระยามหาโยธา<br> (ทอเรียะ คชเสนี)]]
| 16 = 16. พระบาทสมเด็จพระ<br>พุทธเลิศหล้านภาลัย
| 17 = 17. สมเด็จพระศรีสุริเยน<br>ทราบรมราชินี
| 18 = 18. เจ้าฟ้าทัศไภย
 
| 24 = 24. [[เจ้าพระยามหาโยธา (เจ่ง คชเสนี)]]
}}</center>
{{ahnentafel bottom}}
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|2}}
 
 
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
| สี1 = #FFCC00
| สี2 =
| สี3 = #FFCC00
| รูปภาพ = ฉัตรสามชั้น.jpg
| ตำแหน่ง = [[รายพระนามสมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์|สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์]]
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (แพ ติสฺสเทโว)|สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ</br>สมเด็จพระสังฆราช</br> (แพ ติสฺสเทโว)]]
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)|สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ</br>สมเด็จพระสังฆราช</br> (ปลด กิตฺติโสภโณ)]]
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = [[พ.ศ. 2488]] - [[พ.ศ. 2501]]
}}
{{สืบตำแหน่ง
| สี1 = orange
| สี2 =
| สี3 = orange
| รูปภาพ = ตราบาลี.gif
| ตำแหน่ง = [[แม่กองบาลีสนามหลวง]]
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = [[สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)]]
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)|สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ<br/>สมเด็จพระสังฆราช<br/> (ปลด กิตฺติโสภโณ)]]
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = [[พ.ศ. 2477]] - [[พ.ศ. 2478]]
}}
{{สืบตำแหน่ง
| สี1 = pink
| สี2 =
| สี3 = pink
| รูปภาพ = ธรรมยุตินิกาย.gif‎
| ตำแหน่ง = [[เจ้าคณะใหญ่คณะธรรมยุต]]
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = [[พระเจ้าวรวงศ์เธอ กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า|พระเจ้าวรวงศ์เธอ<br/>กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์<br/>สมเด็จพระสังฆราชเจ้า]]
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (จวน อุฏฺฐายี)]]
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = [[พ.ศ. 2471]] - [[พ.ศ. 2501]]
}}
{{สืบตำแหน่ง
| สี1 = lightblue
| สี2 =
| สี3 = lightblue
| รูปภาพ = ‎Logowatborwon.jpg
| ตำแหน่ง = เจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศวิหาร
| จำนวนตำแหน่ง =
| ก่อนหน้า = [[สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส]]
| จำนวนก่อนหน้า =
| ถัดไป = [[พระพรหมมุนี (ผิน สุวโจ)]]
| จำนวนถัดไป =
| ช่วงเวลา = พ.ศ. 2464–พ.ศ. 2501
}}
{{จบกล่อง}}
 
{{สมเด็จพระสังฆราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์}}
{{เจ้านายทรงกรมสมัยกรุงรัตนโกสินทร์}}
{{เจ้านายทรงกรม}}
 
{{เรียงลำดับ|วชิรญาณวงศ์}}
{{อายุขัย|2415|2501}}
[[หมวดหมู่:ภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์มหานิกายธรรมยุติกนิกาย]]
[[หมวดหมู่:สมเด็จพระสังฆราชเจ้า]]
[[หมวดหมู่:กรมหลวง]]
[[หมวดหมู่:แม่กองบาลีสนามหลวง]]
[[หมวดหมู่:เจ้าคณะหนเหนือใหญ่คณะธรรมยุต]]
[[หมวดหมู่:เจ้าอาวาสวัดบวรนิเวศราชวรวิหาร]]
[[หมวดหมู่:เปรียญธรรม 97 ประโยค]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลสมฤทธิ์นพวงศ์]]
[[หมวดหมู่:ราชสกุลธรรมวงศ์สกุลคชเสนี]]