ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระซู่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tonypaph (คุย | ส่วนร่วม)
Tonypaph (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 43:
'''กระซู่''', '''แรดสุมาตรา''' หรือ '''แรดขน'''<ref name="โลกสีเขียว" /> ({{lang-en|Sumatran Rhinoceros<ref>Wilson, D. E., and Reeder, D. M. (eds), ed (2005). [http://www.bucknell.edu/msw3/browse.asp?id=14100054. Mammal Species of the World] (3rd edition ed.). โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยจอนส์ฮอปกินส์ ISBN 0-8018-8221-4</ref>}}; [[ชื่อวิทยาศาสตร์]]: ''Dicerorhinus sumatrensis'') เป็น[[สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม]]ใน[[อันดับสัตว์กีบคี่]]จำพวก[[แรด]] กระซู่เป็นแรดที่มีขนาดเล็กที่สุดในโลก และเป็นแรดเพียง[[สปีชีส์|ชนิด]]เดียวที่อยู่ใน[[สกุล (ชีววิทยา)|สกุล]] ''Dicerorhinus'' มีลักษณะเด่นคือมี นอ 2 นอ เหมือนแรดแอฟริกา โดยนอจะไม่ตั้งยาวขึ้นมาเหมือน[[แรดชวา]] นอหน้าใหญ่กว่านอหลัง โดยทั่วไปยาว 15-25 ซม. ลำตัวมีขนหยาบและยาวปกคลุม เมื่อโตเต็มที่สูง 120–145&nbsp;[[เซนติเมตร|ซม.]] จรดหัวไหล่ ยาว 250 ซม. และมีน้ำหนัก 500-800 [[กิโลกรัม|กก.]]
 
กระซู่อาศัยอยู่ใน[[ป่าดิบชื้น]] [[ป่าพรุ]] และ [[ป่าเมฆ]]ใน[[ประเทศอินเดีย]] [[ภูฏาน]] [[บังกลาเทศ]] [[พม่า]] [[ลาว]] [[ประเทศไทย|ไทย]] [[มาเลเซีย]] [[อินโดนีเซีย]] และ[[ประเทศจีน|จีน]] โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน[[มณฑลเสฉวน]]<ref>''The Art of Rhinoceros Horn Carving in China'' (1999), p. 27. Jan Chapman. Christie’s Books. ลอนดอน</ref><ref>''The Golden Peaches of Samarkand: A study of T’ang Exotics'' (1963), p 83. Edward H. Schafer. มหาวิทยาลัยแคลิฟอร์เนีย เบิร์กเลย์ และ ลอสแอนเจลิส First paperback edition: 1985.</ref> ปัจจุบัน กระซู่ถูกคุกคามจนอยู่ในขั้นวิกฤติ เหลือสังคมประชากรเพียงหกแหล่งในป่า มีสี่แหล่งใน[[สุมาตรา]] หนึ่งแหล่งใน[[บอร์เนียว]] และอีกหนึ่งแหล่งใน[[มาเลเซียตะวันตก]] จำนวนกระซู่ในปัจจุบันยากที่จะประมาณการได้เพราะเป็นสัตว์สันโดษที่มีพิสัยกระจัดกระจายเป็นวงกว้าง แต่คาดว่าเหลืออยู่ประมาณไม่ถึง 300100 ตัว สาเหตุอันดับแรกของการลดลงของจำนวนประชากรคือการล่าเอานอซึ่งมีค่ามากในการแพทย์แผนจีน ขายได้ถึง 30,000 [[ดอลลาร์สหรัฐ]]ต่อกิโลกรัมในตลาดมืด<ref name=Dinerstein/> นอกจากนี้ยังถูกคุกคามถิ่นอาศัยจากอุตสาหกรรมป่าไม้และเกษตรกรรม
 
กระซู่เป็นสัตว์สันโดษมักอยู่เพียงลำพังตัวเดียวยกเว้นช่วงจับคู่ผสมพันธุ์และเลี้ยงดูลูกอ่อน กระซู่เป็นแรดที่เปล่งเสียงร้องมากที่สุดการสื่อสารของกระซู่ยังรวมถึงการทำร่องรอยด้วยเท้า บิดงอไม้หนุ่มเป็นรูปแบบต่างๆ และการถ่ายมูลและละอองเยี่ยว มีการศึกษาในกระซู่มากกว่า[[แรดชวา]]ซึ่งเป็นสัตว์สันโดษเหมือนกัน เพราะโปรแกรมที่นำกระซู่ 40 ตัวมาสู่กรงเลี้ยงที่มีเป้าหมายเพื่ออนุรักษ์สปีชีส์นี้ไว้ ในตอนแรกโปรแกรมนี้ถือว่าประสบความล้มเหลว มีกระซู่ตายจำนวนมากและไม่มีการให้กำเนิดลูกกระซู่เลยเกือบ 20 ปี การสูญเสียกระซู่ในโปรแกรมมากกว่าการสูญเสียกระซู่ในป่าเสียอีก
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กระซู่"