ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อูเอซูงิ เค็นชิง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
AlphamaBot (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ชื่อ: Alphama Tool
NewFrontierHistoryThai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
{{ชื่อญี่ปุ่น}}
[[ไฟล์:Uesugi_Kenshin.jpg|thumb|250px|อุเอะซุงิ เค็งชิง]]
'''อุเอะซุงิ เค็งชิง''' ({{ญี่ปุ่น|上杉 謙信|Uesugi Kenshin}}, [[18 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1530]] - [[19 เมษายน]] [[ค.ศ. 1578]]) เป็นไดเมียวผู้ปกครอง[[แคว้นเอะจิโงะ]]เอะฉิโงะ และไดเมียวผู้ทรงอำนาจในยุค[[เซงโงะกุ]]ของ[[ญี่ปุ่น]] เขามีชื่อเสียงจากการได้รับชัยชนะในหลายสมรภูมิฉายาว่า ความเชี่ยวชาญทั้งด้านการทหารและการวางกลอุบาย"มังกรแห่งเอะจิโงะ" และความศรัทธาในเทพแห่งสงคราม "[[บิฉะมงเท็นชะมงเท็ง]]" ({{ญี่ปุ่น|毘沙門天|Bishamonten}} ตรงกับ[[ท้าวเวสสุวรรณ]]ของทาง[[ศาสนาพุทธ]]) นับว่าเป็นหนึ่งในขุนศึกจำนวนมากด้วยความศรัทธาของอุเอะซุงิ เค็งชิน ที่มีบทบาทสำคัญในยุคนี้ต่อเทพเจ้าบิชะมงเท็ง นอกจากนี้เขายังมีชื่อเสียงในทางดื่มเหล้าจัดอีกด้วย
 
อุเอะซุงิ เค็งชิน เป็นคู่ปรับของไดเมียว [[ทะเคะดะ ชิงเง็น]] ผู้มีฉายาว่า "พยัคฆ์แห่งคะอิ" ซึ่งไดเมียวทั้งสองได้ทำศึกสงครามกันหลายครั้งและไม่สามารถเอาชนะกันได้อย่างเด็ดขาด
 
== ชื่อ ==
อุเอะซุงิ เค็งชิง เดิมมีชื่อเมื่อแรกเกิดว่า "นะงะโอะ คะเงะโทะระ" ({{ญี่ปุ่น|長尾 景虎|Nagao Kagetora}}) ต่อมาจึงเปลี่ยนชื่อเป็น "อุเอะซุงิ มะซะโทะระ" ({{ญี่ปุ่น|上杉 政虎|Uesugi Masatora}}) และ "อุเอะซุงิ เทะรุโทะระ" ({{nihongo|上杉 輝虎|Uesugi Terutora}}) ตามลำดับ และมาใช้ชื่อ "อุเอะซุงิ เค็งชิง" ({{ญี่ปุ่น|上杉 謙信|Uesugi Kenshin}}) เป็นลำดับสุดท้าย หลังเข้าบวชเป็นพระภิกษุใน[[ศาสนาพุทธ]] (จากรูปที่แสดงไว้ในตอนต้นบทความนี้ แสดงให้เห็นว่าอุเอะสิงิ เค็งชิง แต่งกายอย่าง[[พระภิกษุ]][[มหายาน]]แบบญี่ปุ่นอย่างชัดเจน) ชื่อที่อ้างถึงในบทความต่อไปนี้จะใช้ชื่อ เค็งชิง ซึ่งเป็นชื่อสุดท้ายของเขาเป็นหลัก
 
นอกจากนี้ยังเขายังมีฉายาอื่นที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่ "มังกรแห่งเอะจิโงะ" และ "เทพสงคราม" ซึ่งล้วนมาจากความสามารถอันน่าเกรงขามในการต่อสู้ระยะประชิด และความเชียวชาญกโลบายในการศึกสงครามของเค็งชิง ฉายามังกรแห่งอิจิโงะนั้นปรากฏอยู่คู่กับคู่แข่งสำคัญของเค็งชิง คือ [[ทะเคะดะ ชิงเง็น]] ผู้มีฉายาว่า "พยัคฆ์แห่งคะอิ" อันเป็นการเปรียบเทียบว่าทั้งสองคนต่างก็เข้มแข็งจนไม่สามารถหักโค่นอีกฝ่ายลงได้ ตามปกรณัมฝ่ายจีนนั้นถือว่าทั้ง[[เสือ]] (พยัคฆ์) และ[[มังกร]]ต่างก็เป็นศัตรูของกันและกัน แต่ต่างฝ่ายต่างก็แข็งแกร่งพอๆ กันจนไม่อาจโค่นฝ่ายตรงข้ามได้ (ทั้งเค็นชินและชิงเง็นต่างก็สนใจในวัฒนธรรมจีน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง[[ตำราพิชัยสงครามของซุนวู]])