ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คลื่นความโน้มถ่วง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
ในวิชา[[ฟิสิกส์]] '''คลื่นความโน้มถ่วง''' ({{lang-en|gravitational wave}}) คือความผันผวนของส่วนโค้งใน[[ปริภูมิ-เวลา]]ที่แผ่ออกเป็น[[คลื่น]] ที่เดินทางออกจากแหล่งกำเนิด [[อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์]]พยากรณ์ไว้ใน ค.ศ. 1916 บนพื้นฐาน[[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]]ของเขา คลื่นความโน้มถ่วงส่งพลังงานเป็น'''รังสีความโน้มถ่วง''' ({{lang-en|gravitational radiation}}) การมีคลื่นความโน้มถ่วงนี้เป็นผลลัพธ์ที่เกิดได้จากความไม่แปรเปลี่ยนลอเรนซ์ (Lorentz invariance) ของทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป เพราะนำมโนทัศน์ความเร็วจำกัดของการแผ่ของอันตรกิริยากายภาพมากับมัน ในทางตรงข้าม คลื่นความโน้มถ่วงไม่สามารถมีใน[[กฎความโน้มถ่วงสากลของนิวตัน]]ได้ ซึ่งมีสัจพจน์ว่าอันตรกิริยากายาภาพแผ่ด้วยความเร็วอนันต์
 
ก่อนการตรวจหาคลื่นความโน้มถ่วงโดยตรง มีหลักฐานโดยอ้อมของการมีอยู่ ตัวอย่างเช่น การวัดระบบดาวคู่ฮัลส์–เทย์เลอร์แนะว่าคลื่นความโน้มถ่วงเป็นมากกว่ามโนทัศน์ทางทฤษฎี แหล่งที่เป็นไปได้อื่นของคลื่นความโน้มถ่วงที่ตรวจหาได้มีระบบดาวคู่ที่ประกอบด้วย[[ดาวแคระขาว]] [[ดาวนิวตรอน]]และ[[หลุมดำ]] ใน ค.ศ. 2016 มีตัวตรวจหาคลื่นความโน้มถ่วงหลายตัวอยู่ระหว่างการก่อสร้างหรือกำลังดำเนินงาน เช่น แอดแวนซ์ลิโกซึ่งเริ่มการสังเกตในเดือนกันยายน ค.ศ. 2015 ในเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2016 คณะแอดแวนซ์ลิโกประกาศว่าพวกเขาตรวจหาคลื่นความโน้มถ่วงจากการชนของหลุมดำ
แม้จะยังไม่เคยมีการตรวจจับรังสีความโน้มถ่วงได้จริงๆ แต่ก็มีปรากฏการณ์ทางอ้อมที่แสดงให้เห็นถึงการมีอยู่ของมัน ซึ่งเป็นพื้นฐานของผลงานที่ได้รับ[[รางวัลโนเบล]]สาขาฟิสิกส์ ในปี ค.ศ. 1993 สำหรับผลการตรวจวัดรังสีความโน้มถ่วงจากระบบดาวคู่ Hulse-Taylor
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==