ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สิ่งมีชีวิตนอกโลก"

อ่านแล้วเป็นไทยที่มิใช่ไทย
(ย่อหน้าที่สองเขียนไปแล้ว)
(อ่านแล้วเป็นไทยที่มิใช่ไทย)
ชีวิตบนโลกต้องใช้[[น้ำ]]เป็น[[ตัวทำละลาย]]ในการที่ปฏิกิริยาชีวเคมีจะเกิดขึ้นได้ ปริมาณที่เพียงพอของคาร์บอนและองค์ประกอบอื่นๆพร้อมกับน้ำอาจช่วยให้มีการก่อกำเนิดขึ้นของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่บนดาวเคราะห์ดวงอื่น ๆ ที่มีสารเคมีเป็นต้นกำเนิดพื้นฐาน (make-up) และมีช่วงของอุณหภูมิในย่านที่คล้ายกันกับโลก<ref>{{cite journal | first=Norman R. | last=Pace | date=January 20, 2001 | title=The universal nature of biochemistry | journal=Proceedings of the National Academy of Sciences of the United States of America | volume=98 | issue=3 | pages=805–808 | doi=10.1073/pnas.98.3.805 | pmid=11158550 | bibcode=2001PNAS...98..805P | pmc=33372}}</ref> ดาวเคราะห์หิน เช่น โลกเกิดขึ้นได้จากกระบวนการที่ช่วยให้สำหรับความเป็นไปได้ของการมีองค์ประกอบที่คล้ายคลึงกับโลก การรวมกันของคาร์บอน, ไฮโดรเจน และออกซิเจน ในรูปแบบทางเคมีของ[[คาร์โบไฮเดรต]] (เช่น [[น้ำตาล]]) สามารถเป็นแหล่งของพลังงานเคมีที่ชีวิตจะต้องพึ่งพาอาศัย และสามารถเอื้ออำนวยให้เกิดเป็นองค์ประกอบของโครงสร้างสำหรับชีวิต (เช่น น้ำตาล[[ไรโบส]] (ribose) ในโมเลกุล[[ดีเอ็นเอ]] (DNA) และ [[อาร์เอ็นเอ]] (RNA) และ[[เซลลูโลส]] (cellulose) ในพืช) พืชได้รับพลังงานโดยการแปลงพลังงานแสงให้เป็นพลังงานเคมีโดยผ่านทาง[[การสังเคราะห์ด้วยแสง]] สิ่งมีชีวิตตามที่เป็นที่รับรู้กันในตอนนี้นั้นต้องการคาร์บอนทั้งในรูปแบบที่ลดลงแล้ว (จำพวกมีเธน) และที่อยู่ในสภาพผ่านปฏิกิริยาออกซิเดชันเป็นบางส่วน (คาร์บอนออกไซด์) ไนโตรเจนเป็นสิ่งจำเป็นต่อการลดลงของอนุพันธ์[[แอมโมเนีย]]ใน[[โปรตีน]]ทั้งหมด, [[กำมะถัน]]เป็นอนุพันธ์ของ[[ไฮโดรเจนซัลไฟด์]]ในโปรตีนที่จำเป็นบางส่วนและ[[ฟอสฟอรัส]]จะถูกออกซิไดซ์ไปเป็น[[ฟอสเฟต]]ในสารพันธุกรรมและในการถ่ายโอนพลังงาน
 
น้ำบริสุทธิ์นั้นมีประโยชน์เพราะมันมีค่า[[พีเอช]]ที่เป็นกลางเนื่องจากการแยกตัวออกจากกันอย่างต่อเนื่องระหว่าง[[ไฮดรอกไซด์]]และ[[ไฮโดรเนียม]] [[พันธะไอออนิก|ไอออน]] (hydronium ions) เป็นผลทำให้, มันสามารถละลายทั้งไอออนบวกของโลหะและไอออนลบของสารที่ไม่ใช่โลหะด้วยความสามารถที่เท่าเทียมกันได้ นอกจากนี้ความจริงที่ว่าโมเลกุลสารอินทรีย์ที่สามารถเป็นได้ทั้งแบบ[[ไฮโดรโฟบิก]]ที่ไม่ชอบน้ำ (ขับไล่น้ำ) หรือแบบไฮโดรฟิลิค (hydrophilic) (ละลายในน้ำ) จะช่วยสร้างความสามารถของสารประกอบอินทรีย์ในการที่จะปรับทิศทางของตัวมันเองให้อยู่ในรูปแบบของ[[เยื่อหุ้มเซลล์|เยื่อ]] <ref>http://elearning.su.ac.th/elearning-uploads/libs/document/tranmembrane1_cb2d.ppt</ref> ทางชีวภาพที่สามารถห่อหุ้มน้ำไว้ได้ (water-enclosing membranes) นอกจากนี้, [[พันธะไฮโดรเจน]]ระหว่างโมเลกุลของน้ำทำให้มันมีความสามารถในการจัดเก็บ[[ความร้อนแฝง|พลังงาน]]ที่มี[[การระเหย]]ซึ่งเมื่อเกิด[[การควบแน่น]]เข้าก็จะถูกปลดปล่อยออกมาได้ นี้จะช่วยให้สภาพภูมิอากาศมีอุณหภูมิอยู่ในระดับปานกลาง, บริเวณเขตร้อนของโลกก็จะเย็นสบายและบริเวณขั้วโลกก็จะอบอุ่นขึ้น, ทำให้ช่วยรักษาเสถียรภาพทาง[[อุณหพลศาสตร์]]ที่จำเป็นสำหรับชีวิตไว้ได้
 
คาร์บอนเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิตบนพื้นดินที่มีความยืดหยุ่นอันยิ่งใหญ่ในการสร้าง[[พันธะโคเวเลนต์|เคมีพันธะโคเวเลนต์]] ([[covalent bond|covalent chemical bonds]]) ที่มีความหลากหลายของธาตุที่ไม่ใช่โลหะ, อันได้แก่ [[ไนโตรเจน]], [[ออกซิเจน]] และ [[ไฮโดรเจน]] เป็นหลัก [[ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์]]และ[[น้ำ]] เป็นตัวช่วยร่วมกันในการทำให้การจัดเก็บพลังงานแสงอาทิตย์ให้อยู่ในรูปของ[[น้ำตาล]]และ[[แป้ง]] เช่น [[กลูโคส]]
7,639

การแก้ไข