ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระครูวินัยธรรมแก้ว พฺรหฺมสโร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ มังกรคาบแก้ว (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่...
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ต้องการเพิ่มอ้างอิง}}
{{โฆษณา}}
 
{{กล่องข้อมูล พระสงฆ์ไทย
| ชื่อ = แก้ว
เส้น 23 ⟶ 21:
}}
'''หลวงพ่อแก้ว''' ([[พ.ศ. 2393]] - [[พ.ศ. 2462]]) ในบรรดาพระเกจิอาจารย์รุ่นเก่าที่ขึ้นชื่อว่าเข้มขลังและยอดเยี่ยมของลุ่มแม่น้ำแม่กลอง เห็นจะไม่มีผู้ใดเกินยิ่งกว่า หลวงพ่อแก้ว วัดพวงมาลัย สมุทรสงคราม เป็นแน่แท้ที่ท่านมีชื่อเสียงมาก่อนยุค[[หลวงพ่อคง ธมฺมโชโต]] [[วัดบางกะพ้อม]] และ หลวงพ่อบ่าย วัดช่องลม ฯลฯ วัตถุมงคลที่ท่านสร้างและปลุกเสกเอาไว้มีหลายชนิดทั้งประเภทเครื่องรางและของขลังประเภทเหรียญปั๊ม เหรียญรูปหล่อ แต่ที่นิยมเล่นหากันคือเหรียญรูปเหมือนเหรียญปั๊มรุ่นแรก บล็อกวัด สร้างในปี [[พ.ศ. 2459]] รองลงมาจากเหรียญปั๊มพิมพ์พระพุทธปี [[พ.ศ. 2459]] เหรียญหล่อพิมพ์เศียรโล้นและพิมพ์เศียรแหลม เป็นต้น พุทธคุณเด่นทางด้านคงกระพัน
 
== ประวัติ ==
หลวงพ่อท่านเกิดเมื่อปี [[พ.ศ. 2393]] ตรงกับปลายสมัย[[รัชกาลที่ 3พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ณ ตำบลบางแค อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม เป็นบุตรของนายเทียน และนางเนียม ทองพันธุ์ เป็นบุตรคนที่ 2ในจำนวนพี่น้องทั้งหมด 3 คน บรรพชาเป็นสามเณรเมื่อปี [[พ.ศ. 2403]] ขณะมีอายุได้ 10 ปี ณ วัดบางแคใหญ่ อำเภออัมพวา อุปสมบทเมื่อปี [[พ.ศ. 2413]] ณ วัดบางแคใหญ่ โดยมีหลวงพ่อเพ็ง เป็นพระอุปัชฌาย์ ได้รับฉายาว่า '''พรหมสโรพฺรหฺมสโร''' ได้ศึกษาพระธรรมวินัยกับพระอุปัชฌาย์และเรียนหนังสือที่วัดนี้ ได้ศึกษาพุทธาคมครั้งแรกจากบิดาตอนเป็นสามเณรอายุ 15 ปี เนื่องจากบิดาของท่านเป็นทหารวังหน้าในสมัย[[รัชกาลที่ 5]] คือ กรมพระราชวังบวรวิชัยวังบวรวิไชยชาญ]] ซึ่งเชี่ยวชาญทางด้านนี้ ศึกษากับหลวงพ่อเพ็ง วัดบางแคใหญ่ ผู้เป็นพระอุปัชฌาย์ และพระอาจารย์เกตุ วัดทองนพคุณ จังหวัดเพชรบุรี (พี่ชายของท่าน)

ในปี [[พ.ศ. 2424]] ประชาชนนิมนต์ท่านให้ไปเป็นเจ้าอาวาสที่วัดช่องลมเนื่องจากชื่อเสียงของท่านเริ่มโด่งดังในทางคุณวิเศษต่าง ๆ แล้วโดยมาพร้อมกับหลวงพ่อบ่าย ธมฺมโชโต ท่านดำรงตำแหน่งเจ้าอาวาสอยู่ 6 ปี ก็ย้ายมาเป็นเจ้าอาวาสที่วัดพวงมาลัย หลวงพ่อบ่ายจึงเป็นเจ้าอาวาสวัดช่องลมสืบแทน ผู้คนเชื่อว่าท่านมีคุณวิเศษ สามารถล่วงรู้เหตุการณ์ที่อยู่ใกล้ตัวและไกลตัวของท่านทั้งในอดีตและในอนาคตได้อย่างแม่นยำ ท่านถึงแก่มรณภาพเมื่อปี [[พ.ศ. 2462]] ในสมัย[[รัชกาลที่ 6]] รวมอายุได้ 69 ปี 49 พรรษา
 
นอกจากนี้ท่านยังได้รับแต่งตั้งเป็น''พระครูวินัยธรรม'' ฐานานุกรมในของพระราชาคณะรูปหนึ่ง แต่ไม่ปรากฏแน่ชัดว่ารูปใด<ref>{{cite web|title=พระครูวินัยธรรม (แก้ว พรหมสโร) วัดพวงมาลัย อ.เมือง จ.สมุทรสงคราม|url=http://www.lanpothai.com/prakaeji/15-east-west-central/526-luang-por-kaew|publisher=ลานโพธิ์|date=14 มิถุนายน 2553|accessdate=11 กุมภาพันธ์ 2559}}</ref>
 
ท่านถึงแก่มรณภาพเมื่อปี [[พ.ศ. 2462]] ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รวมอายุได้ 69 ปี 49 พรรษา
 
== อ้างอิง ==
# '''หนังสือรวมสุดยอดพระคณาจารย์ทั้งหมด 180 พระองค์'''
เส้น 30 ⟶ 36:
# [http://www.ข่าวพระเครื่อง.com/2011/04/blog-post.html ข่าวพระเครื่อง]
# [http://p.moohin.com/004.shtml ประวัติหลวงพ่อแก้ว วัดพวงมาลัย]
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{เริ่มกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
เส้น 44 ⟶ 52:
}}
{{จบกล่อง}}
 
{{เกิดปี|2393}}
{{เรียงลำดับ|ก้ว พฺรหฺมสโร}}
{{เสียชีวิตปี|2462}}
{{อายุขัย|2393|2462}}
[[หมวดหมู่:เจ้าอาวาสวัดช่องลม]]
[[หมวดหมู่:ภิกษุชาวไทย|กฐานานุกรม]]
[[หมวดหมู่:เกจิอาจารย์]]
[[หมวดหมู่:บุคคลจากจังหวัดสมุทรสงคราม‎‎]]
[[หมวดหมู่:ภิกษุชาวไทย|ก]]