ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รักนาร็อก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
แทนที่ ‘เจอร์เมนิก’ ด้วย ‘เจอร์แมนิก’
บรรทัด 7:
 
==นิรุกติศาสตร์==
คำว่า "ragnarök" ใน[[ภาษานอร์สโบราณ]]เป็นคำผสมจากคำสองคำ คำแรกคือ ''ragna'' คำแสดงความเป็นเจ้าของในรูปพหูพจน์ของคำ ''regin'' (แปลว่า "เทพเจ้า" หรือ "พลังอำนาจ") มีรากคำมาจากคำใน[[ภาษาโปรโต-เจอร์เมนิกเจอร์แมนิก]]ที่สร้างขึ้นใหม่ [[Asterisk#Historical linguistics|*]]''ragenō'' คำที่สอง ''rök'' มีหลายความหมาย เช่น "การพัฒนา, แหล่งกำเนิด, สาเหตุ, ความสัมพันธ์, ชะตากรรม, สิ้นสุด" การตีความแบบเดิมก่อนควบรวม /ǫ/ และ /ø/ ในภาษาไอซ์แลนด์ (ca. 1200) คำ ''rök'' มีรากคำมาจากคำในภาษาโปรโต-เจอร์เมนิกเจอร์แมนิก *''rakō''<ref name=BJORDVAND856-857>See e.g. Bjordvand and Lindemann (2007:856–857).</ref> คำ ''ragnarök'' เมื่อรวมคำแล้วมักตีความเป็น "ชะตากรรมสุดท้ายของเทพเจ้า"<ref name=SIMEK259>Simek (2000:259).</ref> ใน ค.ศ. 2007 Haraldur Bernharðsson เสนอว่าต้นกำเนิดของคำที่สองในคำผสมเป็น ''røk'' นำไปสู่การสร้างคำขึ้นใหม่ในภาษาโปรโต-เจอร์เมนิกเจอร์แมนิก *''rekwa'' และเปิดไปสู่ความไปได้ในความหมายอื่นๆ<ref>Haraldur Bernharðsson (2007:30–32).</ref>
 
<!--In stanza 39 of the ''Poetic Edda'' poem ''[[Lokasenna]]'', and in the ''Prose Edda'', the form ''ragnarøk(k)r'' appears, ''røk(k)r'' meaning "twilight." It has often been suggested that this indicates a misunderstanding or a learned reinterpretation of the original form ''ragnarök''.<ref name=BJORDVAND856-857>See e.g. Bjordvand, Lindeman (2007:856–857).</ref> Haraldur Bernharðsson argues instead that the words ''ragnarök'' and ''ragnarøkkr'' are closely related, etymologically and semantically, and suggests a meaning of "renewal of the divine powers."<ref>Haraldur Bernharðsson (2007:35).</ref> Usage of this form was popularized in modern [[popular culture]] by 19th century composer [[Richard Wagner]] by way of the title of the last of his ''[[Der Ring des Nibelungen]]'' operas, ''[[Götterdämmerung]]''.<ref name=LINDOW254>Lindow (2001:254).</ref>