ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สนธิสัญญาเบอร์นี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 30:
'''สนธิสัญญาเบอร์นี''' ({{lang-en|Burney Treaty}}) คือ [[สนธิสัญญา]]ทางพระราชไมตรีและการพาณิชย์ฉบับแรกที่[[อาณาจักรรัตนโกสินทร์ (สมัยสมบูรณาญาสิทธิราช)|กรุงรัตนโกสินทร์]] (ต่อมาคือประเทศไทย) ทำกับประเทศตะวันตกในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์
ในสมัยรัชกาล[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] [[เฮนรี เบอร์นี]] ได้เป็นทูต[[อังกฤษ]]เดินทางเข้ามายัง[[ประเทศไทย]]กรุงรัตนโกสินทร์ใน [[พ.ศ. 2368]] เพื่อเจรจาปัญหาทาง[[การเมือง]]ทางการเมืองและการค้ากับไทย ในด้านการค้า [[รัฐบาลอังกฤษ]]มีความประสงค์ที่จะขอเปิดสัมพันธไมตรีทางการค้ากับ[[ไทย]]รัตนโกสินทร์ และขอความสะดวกในการในการค้าได้โดยเสรี การเจรจาได้เป็นผลสำเร็จเมื่อวันที่ [[20 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2369]] และมีการลงนามในสนธิสัญญากัน
 
สนธิสัญญาเบอร์นี ประกอบไปด้วยสนธิสัญญาทางพระราชไมตรีรวม 14 ข้อ และมีสนธิสัญญาทางการทางพาณิชย์แยกออกมาอีกฉบับหนึ่งรวม 6 ข้อ ที่เกี่ยวกับการค้า ได้แก่ ข้อ 5 ให้สิทธิพ่อค้าทั้งสองฝ่ายค้าขายตามเมืองต่าง ๆ ของอีกฝ่ายหนึ่งได้อย่างเสรีตามกฎหมาย ข้อ 6 ให้พ่อค้าทั้งสองฝ่ายเสียค่าธรรมเนียมของอีกฝ่าย และข้อ 7 ให้สิทธิแก่พ่อค้าจะขอตั้งห้าง เรือนและเช่าที่โรงเรือนเก็บสินค้าในประเทศอีกฝ่ายหนึ่งได้ ขึ้นอยู่กับดุลพินิจของกรมการเมือง<ref name="ชัย155">ชัย เรืองศิลป์. หน้า 155.</ref>
 
== เบื้องหลัง ==