ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิถังเสฺวียนจง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Unclederic (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 28:
เมื่อสิ้นรัชกาล[[จักรพรรดิถังจงจง]] ซึ่งเป็นพระปิตุลาแล้ว เหวยฮองเฮาเข้ายึดอำนาจ ส่วนหลี่หลงจี๋ที่องค์หญิงไท่ผิงสนับสนุน ได้เข้ากวาดล้างพรรคพวกของนางแล้วเชิญพระราชบิดาขึ้นทรงราชย์อีกครั้ง แต่ทรงราชย์ได้ 2 ปีก็สละราชสมบัติ แล้วเชิญหลี่หลงจี๋ขึ้นทรงราชย์
 
เมื่อทรงราชย์เป็นจักรพรรดิถังเสฺวียนจง พระราชภารกิจแรกคือกวาดล้างองค์หญิงไท่ผิงและพวก ตลอด 32 ปีในรัชสมัย ทรงปฏิรูปการปกครองกวาดล้างขุนนางกังฉิน ทรงทำให้ฉางอานกลายเมืองศูนย์กลางของโลกในขณะนั้น ประชากรในเมืองฉางอานสูงกว่า1ล้านคน เป็นปลายทางของเส้นทางสายไหม และยังเป็นจุดหมายปลายทางของพวกพ่อค้าชาวตะวันตก ต้าถังในรัชสมัยของพระองค์เจริญรุ่งเรือง เต็มไปด้วยนักดนตรี นักประพันธ์ เจริญด้วยวรรณกรรม วรรณคดีมากมาย สังคมงสบสุข พระบารมีแผ่ขยายไปกว้างไกล ประวัติศาสตร์ยุคนี้ได้รับการขนานนามว่า "ปฐมศักราชแห่งความรุ่งโรจน์" นอกจากนี้ยังมีนักศึกษาต่างชาติพากันลั่งไหลเข้ามาเรียนรู้ในผ่นดินต้าถังนตลอดไม่ขาดสาย ฉางอานเมืองหลวงของต้าถังในขณะนั้น กลายเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจและวัฒนธรรมของโลกมีความเจริญในทุกๆด้าน
 
= แบบอย่างนักปกครองที่ดี =
ในปี ค.ศ. 744 (พ.ศ. 1187) ทรงรับสนม[[หยางกุ้ยเฟย]] (หยางอวี๋หวน) เข้ามาในวัง ก็ทรงละเลยพระราชภารกิจ หลงใหลแต่นางหยางกุ้ยเฟย บ้านเมืองจึงเริ่มอ่อนแอลง ภายหลังบ้านเมืองยำแย่ยิ่งกว่าเก่า มีการคิดริเริ่มก่อกบฏของอันลู่ซาน ญาติพี่น้องของกุ้ยเฟยได้เป็นเสนาบดี และใช้อำนาจบาตรใหญ่ทำให้นายทหารโกรธแค้น บุกเข้ายึดพระราชวังถังเสฺวียนจง กับกุ้ยเฟยหนีลงใต้ ส่วนนายทหารเหล่านั้นตามมาทัน และบังคับให้ถังเสฺวียนจงประหารหยางกุ้ยเฟย และสนับสนุนหลี่เฮิงให้ขึ้นเป็น[[จักรพรรดิถังซู่จง]] จักรพรรดิถังเสฺวียนจงสวรรคตลงในปี ค.ศ. 762 (พ.ศ. 1305) ขณะพระชนม์ได้ 77 พรรษา
หลังจากที่จักรพรรดิถังเสวียนจงทรงครองราชย์ได้ไม่นานพระองค์ตั้งพระทัยว่าจะนำพาต้าถังกลับไปสู่ความรุ่งโรจน์อีกครั้ง ดังเช่นสมัย [[จักรพรรดิถังไท่จง]] พระองค์ทรงทราบว่าหยางฉงเป็นผู้มากความสามารถ พระองค์จึงเชิญหยางฉงเข้ามารับราชการ กษัตริย์ถังเสวียนจงทรงไว้วางพระทัยในหยางฉงมาก มีครานึ่งหยางฉงถวายฎีกาเรื่องเลื่อนขั้นขุนางชั้นผู้น้อย หยงฉงถวายไปอยู่หลายครั้ง จักรพรรดิถังเสวียนจงก็ไม่ตอบสนอง พอขันทีถาม กษํตริย์ถังเสวียนจงจึงตอบ "ข้าตั้งหยางฉงเป็นอัครมหาเสนาบดี ก็หวังจะได้ใช้งาน เรื่องเล็กน้อยดั่งการเลื่อนขึ้นขุนนางเพียงเท่านี้เขาย่อมตัดสินใจเองได้ เหตุใดจึงต้องรายงานข้าด้วยเล่า"
เมื่อหยางฉงทราบความนี้ก็รู้สึกซาบซึ้งในพระทัยเป็นล้นพ้น และตั้งใจรับใช้กษัตริยฺองค์นี้เพิ่มขึ้นเป็นทวีคูณ บ้านเมืองภายใต้การบริหารของขุนนางที่ดีอย่าง หยางฉง และจ่าวจิ่งหลิงที่รับใช้จักรพรรดิถังเสวียนจงก็เจริญเฟื่องฟูขึ้นเรื่อยๆตามลำดับ จนทำให้ราชวงศ์ถังก้าวเข้าสู่ยุครุ่งเรืองถึงขีดสุด
 
= ความหายนะเบื้องหลังความรุ่งเรือง =
ช่วงปลายรัชสมัย เนื่องจากพระปณิธานของพระองค์ดำเนินสำเร็จลุล่วงได้อย่างดี ทำให้พระองค์เริ่มละเลยในราชกิจ ในปี ค.ศ. 744 (พ.ศ. 1187) ทรงรับสนม[[หยางกุ้ยเฟย]] (หยางอวี๋หวน) เข้ามาในวัง ก็ทรงละเลยพระราชภารกิจ หลงใหลแต่นางหยางกุ้ยเฟย บ้านเมืองจึงเริ่มอ่อนแอลง ภายหลังบ้านเมืองยำแย่ยิ่งกว่าเก่า มีการคิดริเริ่มก่อกบฏของอันลู่ซาน ญาติพี่น้องของกุ้ยเฟยได้เป็นเสนาบดี และใช้อำนาจบาตรใหญ่ทำให้นายทหารโกรธแค้น บุกเข้ายึดพระราชวังถังเสฺวียนจง กับกุ้ยเฟยหนีลงใต้ ส่วนนายทหารเหล่านั้นตามมาทัน และบังคับให้ถังเสฺวียนจงประหารหยางกุ้ยเฟย และสนับสนุนหลี่เฮิงให้ขึ้นเป็น[[จักรพรรดิถังซู่จง]] จักรพรรดิถังเสฺวียนจงสวรรคตลงในปี ค.ศ. 762 (พ.ศ. 1305) ขณะพระชนม์ได้ 77 พรรษา
 
== พระบรมวงศานุวงศ์ ==