ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
TomBor4 (คุย | ส่วนร่วม)
Replace GDP PPP per capita map to a new one (2011 > 2014) more respectfull of graphic semiology (color gradient by value)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 5:
อย่างไรก็ตาม จีดีพี เป็นดัชนีชี้วัดผลิตภัณฑ์มวลรวมของประเทศ แต่ไม่สามารถชี้วัดคุณภาพชีวิตที่แท้จริงได้
 
GDP is GDP.
== การวัดผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ ==
 
การวัดผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ สามารถวัดได้ 2 วิธี ได้แก่
 
1. การวัดรายจ่าย (Expenditure Approach) ที่จ่ายให้สินค้าและบริการขั้นสุดท้าย
 
GDP = รายจ่ายเพื่อบริโภค + รายจ่ายเพื่อการลงทุน + รายจ่ายของรัฐบาล + รายจ่ายสุทธิของต่างประเทศที่ซื้อสินค้าผลิตในประเทศ
 
หรือ GDP = Consumption + Investment + Government spending + (exports – imports)
2. การวัดรายได้ (Resource Cost - Income Approach) ที่ได้จากการขายสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย
 
GDP = ค่าจ้างและเงินเดือนลูกจ้าง + รายได้เจ้าของธุรกิจส่วนตัว + กำไรของบริษัท (รายได้ผู้ถือหุ้น) + ดอกเบี้ย (รายได้เจ้าหนี้) + ค่าเช่า (รายได้เจ้าของสินทรัพย์) + ภาษีธุรกิจทางอ้อม + ค่าเสื่อมราคา + รายได้สุทธิของคนต่างชาติในประเทศ
 
หมายเหตุ: ภาษีทางอ้อมคือภาษีที่เรียกเก็บจากสินค้าหรือบริการโดยผู้ที่มีหน้าที่ชำระภาษีโดยตรง (ผู้เสียภาษีคนแรก) สามารถผลักภาระภาษีไปให้บุคคลอื่นได้ เช่น ภาษีสรรพสามิต ภาษีศุลกากร ภาษีมูลค่าเพิ่ม
 
เนื่องจากวิธีการวัด GDP ด้วยรายจ่ายเป็นวิธีที่พื้นฐานที่สุดในการวัดและเข้าใจ GDP ดังนั้น จะอธิบายตัวแปรในสมการที่คำนวณ GDP ด้วยการวัดรายจ่ายเท่านั้น ดังต่อไปนี้
 
GDP = C + I + G + NE หรือ C + I + G + (X - M)
 
'''Consumption''' (C) หมายถึง การบริโภคภาคเอกชน (Private consumption) ซึ่งรวมค่าใช้จ่ายส่วนบุคคลแทบทั้งหมดเช่น อาหาร ค่าเช่า ค่ายา แต่ไม่รวมการซื้อบ้านหลังใหม่
'''Investment''' (I) หมายถึง การลงทุนของธุรกิจในสินค้าทุน เช่น การก่อสร้างเหมืองแร่ใหม่ การซื้อซอฟต์แวร์ การซื้ออุปกรณ์เครื่องจักรสำหรับโรงงาน เป็นต้น การใช้จ่ายโดยครัวเรือนเพื่อซื้อบ้านหลังใหม่รวมไว้ในการลงทุนเช่นกัน ทว่า การซื้อผลิตภัณฑ์ทางการเงินเช่น การซื้อหุ้นสามัญหรือหุ้นกู้ ไม่จัดว่าเป็นการลงทุนแต่เป็นการออม (Saving) จึงไม่รวมใน GDP เพราะเป็นเพียงการสับเปลี่ยนเอกสารทางกฎหมายเท่านั้น ซึ่งเงินนั้นไม่ได้แปลงให้กลายเป็นสินค้าหรือบริการ จึงไม่เป็นส่วนหนึ่งของเศรษฐกิจที่แท้จริง และจัดให้เป็นรายจ่ายประเภทเงินโอน (Transfer payment)
 
หมายเหตุ: ค่าใช้จ่ายดอกเบี้ยสุทธิของภาคการเงินเท่านั้นที่มองว่าเป็นการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่ม จึงรวมไว้ใน GDP
'''Government Spending''' (G) หมายถึง ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของรัฐบาลที่ใช้ซื้อสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย ซึ่งรวมถึงเงินเดือนของข้าราชการ การซื้ออาวุธทางทหาร และค่าใช้จ่ายลงทุนของรัฐ แต่ไม่รวมรายจ่ายประเภทโอนเงินอย่างเช่น สวัสดิการสังคมหรือผลประโยชน์จากการว่างงาน
'''Net Exports''' (NE) หมายถึง การส่งออกสุทธิ หรือการส่งออก (X) ลบด้วยการนำเข้า (M) นั่นเอง ที่ต้องลบการนำเข้าเพราะตัวเลขการบริโภคสินค้าและบริการที่นำเข้ามาบริโภคจะรวมไว้ใน C, I, และ G
 
[[ไฟล์:Gdp nominal and ppp 2004 world map.PNG|thumb|300px|เปรียบเทียบ ดัชนี GDP และ PPP]]
 
[[ไฟล์:GDP per capita (nominal) 2014.png|thumb|300px|ของประเทศแต่ละประเทศในปี 2555.<ref>Based on the IMF data. If no data was available for a country from IMF, World Bank data were used.</ref>
{| width=100%
|-
| valign=top |
{{legend|#400000|มากกว่า $129,696}}
{{legend|#800000|$64,848 – 129,696}}
{{legend|#a00000|$32,424 – 64,848}}
{{legend|#d00000|$16,212 – 32,424}}
{{legend|#fd2a00|$8,106 – 16,212}}
{{legend|#fe7733|$4,053 – 8,106}}
| valign=top |
{{legend|#fea933|$2,027 – 4,053}}
{{legend|#fed24c|$1,013 – 2,027}}
{{legend|#feff33|$507 – 1,013}}
{{legend|#ffffa6|ต่ำกว่า $507}}
{{legend|white|ไม่มีข้อมูล}}
|}
]]
 
== สิ่งที่ไม่นับรวมใน GDP ==