ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีหน้าต่างแตก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 14:
ดังนั้นทฤษฎีนี้อ้างว่าหากอาชญากรรมเล็กๆและพฤติกรรมต่อต้านสังคมเล็กๆน้อยๆถูกขัดขวาง จะทำให้อาชญากรรมส่วนใหญ่ไม่เกิดขึ้นด้วยเช่นกัน การวิจารณ์ทฤษฎีนี้นั้นมีแนวโน้มที่จะเน้นไปที่การอ้างผลของทฤษฏีที่อาจจะเกินจริง
 
== แนวคิดของ "ความกลัว" ==
ระนาสิงห์กล่าวว่าแนวคิดของความกลัวเป็นส่วนประกอบสำคัญของทฤษฎีหน้าต่างแตกเพราะความกลัวนั้นเป็นพื้นฐานของทฤษฎีนี้<ref>Ranasinghe, P (2012), "Jane Jacobs' framing of public disorder and its relation to the 'broken windows' theory", ''Theoretical Criminology'' '''16''' (1): 63–84, [[doi:10.1177/1362480611406947]].</ref> เธอยังกล่าวอีกว่าความวุ่นวายในสังคมนั้น "...เป็นปัญหาเพราะว่ามันเป็นแหล่งที่มาของความกลัว"<ref name=":0" /> <span class="mw-ref" id="cxcite_ref-FOOTNOTERanasinghe201267_11-0" rel="dc:references" data-sourceid="cite_ref-FOOTNOTERanasinghe201267_11-0" contenteditable="false"><span class="mw-reflink-text"><nowiki></nowiki></span></span><span class="mw-ref" id="cxcite_ref-FOOTNOTERanasinghe201267_11-0" rel="dc:references" contenteditable="false" data-sourceid="cite_ref-FOOTNOTERanasinghe201267_11-0"></span>ความกลัวจะเพิ่มขึ้นเมื่อความวุ่นวายนั้นถูกมองว่ามากขึ้น สร้างเป็นรูปแบบทางสังคมที่ทำให้ชุมชนแตกแยก และทำให้ผู้อยู่อาศัยรู้สึกสิ้นหวังและถูกตัดขาด