ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ทฤษฎีหน้าต่างแตก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
Pilarbini (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{ลิงก์ไปภาษาอื่น}}
[[ไฟล์:Broken_windows,_Northampton_State_Hospital.jpg|thumb|หน้าต่างที่แตกของตึกร้างใน[[เซนต์ปีเตอร์สเบิร์ก]]]]
'''ทฤษฎีหน้าต่างแตก '''คือ ทฤษฎีทาง[[อาชญาวิทยา]]ของการสร้างมาตรฐาน และที่ผลของการก่อกวนและความวุ่นวายในตัวเมืองส่งผลต่อการเพิ่มของ[[อาชญากรรม]] และ[[:en:Anti-social_behavior|พฤติกรรมต่อต้านสังคม]] ทฤษฎีระบุว่าการดูแลรักษา[[:en:Urban_area|สิ่งแวดล้อมเมือง]]โดยการป้องกันอาชญากรรมเบาๆ เช่น [[การก่อกวน]] การดื่มในที่สาธารณะ และการไม่จ่ายค่าโดยสาร มีส่วนช่วยในการสร้างบรรยากาศของความถูกต้องทางกฎหมาย ดังนั้นจึงมีส่วนช่วยในการยับยั้งการเกิดขึ้นของอาชญากรรมที่ร้ายแรง
 
ทฤษฎีถูกริเริ่มในปี พ.ศ. 2525 ในบทความที่เขียนโดยนักสังคมศาสตร์  [[:en:James_Q._Wilson|เจมส์ คิว วิลสัน]] และ [[:en:George_L._Kelling|จอร์จ แอล เคลลิ่ง]]<ref name=":0">Wilson, James Q; Kelling, George L (Mar 1982), "[http://www.manhattan-institute.org/pdf/_atlantic_monthly-broken_windows.pdf Broken Windows: The police and neighborhood safety]", ''The Atlantic'', retrieved 2007-09-03).</ref><span class="mw-ref" id="cxcite_ref-FOOTNOTEWilsonKelling1982_1-0" rel="dc:references" data-sourceid="cite_ref-FOOTNOTEWilsonKelling1982_1-0" contenteditable="false"><span class="mw-reflink-text"><nowiki>[1]</nowiki></span></span><span class="mw-ref" id="cxcite_ref-FOOTNOTEWilsonKelling1982_1-0" rel="dc:references" contenteditable="false" data-sourceid="cite_ref-FOOTNOTEWilsonKelling1982_1-0"></span> ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาทฤษฏีนี้ก็ได้เป็นที่ถกเถียงทั้งภายใน[[สังคมศาสตร์]]เองและในพื้นที่สาธารณะ ทฤษฎีนี้ถูกใช้เป็นแรงบันดาลใจสำหรับการปฏิรูปในนโยบายทางอาชญากรรมมาแล้วหลายต่อหลายครั้ง รวมไปถึงการใช้อย่างกว้างขวางของ "[[:en:Stop-and-frisk_in_New_York_City|หยุด ถาม ค้น]]" โดย[[:en:New_York_City_Police_Department|กรมตำรวจนครนิวยอร์ก]]