ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ดาวหางแฮลลีย์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Miwako Sato (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Lspn comet halley.jpg|thumb|250px|ดาวหางฮัลเลย์แฮลลีย์]]
 
'''ดาวหางฮัลเลย์แฮลลีย์''' ({{lang-en|Halley's Comet}}) มีชื่อตามระบบ[[ดาวหาง]]อย่างเป็นทางการว่า '''1P/Halley''' ตั้งชื่อตาม [[เอ็ดมันด์ ฮัลลีย์]] (Edmond Halley) ผู้ซึ่งคำนวณ[[คาบโคจร]]และทำนายการปรากฏตัวของดาวหางได้อย่างถูกต้องเป็นครั้งแรก ดาวหางฮัลเลย์แฮลลีย์มีคาบโคจรรอบละประมาณ 75-76 ปี นับเป็นดาวหางแบบมีคาบโคจรที่มีชื่อเสียงที่สุด แม้ในทุกศตวรรษจะมี[[ดาวหาง#ลักษณะของวงโคจร|ดาวหางคาบยาว]]อื่นๆอื่น ๆ อีกหลายดวงที่สว่างกว่าและสวยงามมากกว่า แต่ดาวหางฮัลเลย์นับเป็นแฮลลีย์นับเป็น[[ดาวหาง#ลักษณะของวงโคจร|ดาวหางคาบสั้น]]เพียงดวงเดียวที่มีความสว่างมากจนสามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า และเป็นดาวหางที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่าเพียงดวงเดียวที่หวนกลับมาให้เห็นได้อีกในช่วงชีวิตของคนๆคน ๆ หนึ่ง<ref>[http://www.astronomytoday.com/astronomy/comets.html Comets, awesome celestial objects]. ''AstronomyToday''.</ref> ดาวหางฮัลเลย์แฮลลีย์โคจรเข้ามายัง[[ระบบสุริยะ]]ชั้นในครั้งล่าสุดเมื่อปี ค.ศ. 1986 และจะกลับมาอีกครั้งในราวกลางปี ค.ศ. 2061
 
== อ้างอิง ==