ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 6:
| สมณศักดิ์ = พระพรหมคุณาภรณ์
| วันเกิด = [[12 มกราคม]] [[พ.ศ. 2481]]
| วันบวช = [[24 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 25052504]]
| วันตาย =
| พรรษา = {{อายุ|25052504|7|24}}
| อายุ = {{อายุ|2481|1|12}}
| วัด = [[วัดญาณเวศกวัน]]
บรรทัด 17:
}}
 
'''ศาสตราจารย์พิเศษ'''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2544/D/084/7.PDF ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั้งศาสตราจารย์พิเศษ], เล่ม ๑๑๘, ตอน ๘๔ ง, ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๔, หน้า ๗</ref> '''พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)''' (นามเดิม:ประยุทธ์ อารยางกูร) หรือที่รู้จักกันดีทั่วไปในนามปากกา '''"ป.อ. ปยุตฺโต"''' เกิดเมื่อวันที่ [[12 มกราคม]] [[พ.ศ. 2481]] ที่อำเภอศรีประจันต์ จังหวัด[[สุพรรณบุรี]] ท่านได้บรรพชาเป็นสามเณรตั้งแต่อายุ 12 ปี เมื่อ ปี[[พ.ศ. 2494]] และเข้ามา[[จำพรรษา]]ที่วัดพระพิเรนทร์ [[กรุงเทพมหานคร]] จนสอบได้[[นักธรรมเอก]] และ[[เปรียญธรรม ๙ ประโยค]] ขณะยังเป็น[[สามเณร]] เป็นรูปที่สองใน[[รัชกาลที่ ๙|รัชกาลปัจจุบัน]] และเป็นรูปที่สี่ใน[[สมัยรัตนโกสินทร์]] โดยได้รับการ[[อุปสมบท]]โดยเป็น[[นาคหลวง]]ในพระบรมราชูปถัมภ์ เมื่อวันที่ [[24 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 25052504]] ณ พัทธสีมา[[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] โดยมี[[สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปลด กิตฺติโสภโณ)]] เป็น[[พระอุปัชฌาย์]]
 
พระพรหมคุณาภรณ์ เป็นพระนักวิชาการนักคิดนักเขียนผลงานทางพระพุทธศาสนารุ่นใหม่ มีผลงานทางวิชาการพระพุทธศาสนาเป็นจำนวนมาก ผลงานของท่านที่เป็นที่รู้จัก เช่น พุทธธรรม เป็นต้น ท่านได้รับการยกย่องจากทั้งในและต่างประเทศเป็นอย่างมาก ด้วยผลงานของท่านทำให้ท่านได้รับรางวัลและดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากหลายสถาบันทั้งในและนอกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการที่ท่านเป็นคนไทยคนแรกที่ได้รับรางวัลการศึกษาเพื่อสันติภาพ จาก[[องค์การยูเนสโก]] (UNESCO Prize for Peace Education) <ref>[http://portal.unesco.org/shs/en/ev.php-URL_ID=2126&URL_DO=DO_TOPIC&URL_SECTION=201.html '''รายชื่อผู้ที่ได้รับรางวัลการศึกษาเพื่อสันติภาพ''' .เว็บไซต์องค์การยูเนสโก]</ref> นอกจากนี้ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ที่ท่านได้รับรวมมีมากกว่า 15 สถาบัน ซึ่งนับว่าท่านเป็นพระภิกษุสงฆ์ไทยที่ได้รับการยกย่องให้ได้รับดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์มากที่สุดในปัจจุบัน และในปี พ.ศ. 2549 มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าแต่งตั้งเป็นราชบัณฑิตกิตติมศักดิ์ ปัจจุบันพระพรหมคุณาภรณ์ดำรงตำแหน่งเป็น[[ศาสตราจารย์พิเศษ]] ประจำ[[มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย]] และจำพรรษาอยู่ที่[[วัดญาณเวศกวัน]] [[อำเภอสามพราน]] [[จังหวัดนครปฐม]]