ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การฆ่าคน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 30:
 
# การฆ่าคนนั้นเป็นการกระทำอันจะเป็นความผิดอาญา (''actus reus'')
 
# การฆ่าคนนั้นเป็นไปเพราะมีเจตนาร้าย (''mens rea'') พิจารณาจากวัตถุประสงค์ ความจงใจ ความหวังผลร้าย การไตร่ตรองไว้ล่วงหน้า และ/หรือการปราศจากความระมัดระวังหรือยับยั้งชั่งใจ (wanton)
 
เส้น 37 ⟶ 36:
=== ข้อพิจารณาเพิ่มเติม ===
 
1.# การฆ่าคนโดยไม่เจตนาหรือไม่ได้หวังผลร้าย มักถือว่าเป็นการทำให้คนตายโดยไม่เจตนา
2.# การฆ่าคนโดยชอบด้วยกฎหมาย (เช่น การประหารชีวิต หรือการทำให้คนตายโดยคำสั่งของผู้บังคับบัญชา) และการทำคนตายโดยอุบัติเหตุ ถือเป็นการทำให้คนตายโดยเจตนา ทั้งนี้ การกระทำดังกล่าวจะเป็นความผิดหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับสภาวะแวดล้อมแล้วแต่กรณี เป็นต้นว่า
 
#* คำพิพากษาของศาลให้ลงโทษประหารชีวิตเป็นการสั่งให้ฆ่าคน แต่ไม่มีความผิดเนื่องจากเป็นวิถีทางที่ถูกต้องแห่งกฎหมาย (due process of law)
2. การฆ่าคนโดยชอบด้วยกฎหมาย (เช่น การประหารชีวิต หรือการทำให้คนตายโดยคำสั่งของผู้บังคับบัญชา) และการทำคนตายโดยอุบัติเหตุ ถือเป็นการทำให้คนตายโดยเจตนา ทั้งนี้ การกระทำดังกล่าวจะเป็นความผิดหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับสภาวะแวดล้อมแล้วแต่กรณี เป็นต้นว่า
#* การฆ่าปรปักษ์ (combatant) โดยคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายที่มีขึ้นในระหว่างภาวะสงคราม รวมตลอดถึงการฆ่าที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายในภาวะสงคราม อาจถือเป็นการฆ่าคน และอาจถือเป็นอาชญากรรมสงคราม (แต่จะมีโทษหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับสภาวะแวดล้อมแล้วแต่กรณี)
 
3.# ในสังคมหลายภาคส่วนของโลก [[การฆ่าตัวตาย]]ไม่ถือว่าเป็นการฆ่าคน เนื่องจากจำเลยและผู้เสียหายเป็นบุคคลเดียวกัน ทั้งนี้ การสนับสนุนการฆ่าตัวตายอาจถือว่าเป็นความผิดขึ้นอยู่กับสภาวะแวดล้อมแล้วแต่กรณี
* คำพิพากษาของศาลให้ลงโทษประหารชีวิตเป็นการสั่งให้ฆ่าคน แต่ไม่มีความผิดเนื่องจากเป็นวิถีทางที่ถูกต้องแห่งกฎหมาย (due process of law)
 
* การฆ่าปรปักษ์ (combatant) โดยคำสั่งอันชอบด้วยกฎหมายที่มีขึ้นในระหว่างภาวะสงคราม รวมตลอดถึงการฆ่าที่ไม่ชอบด้วยกฎหมายในภาวะสงคราม อาจถือเป็นการฆ่าคน และอาจถือเป็นอาชญากรรมสงคราม (แต่จะมีโทษหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับสภาวะแวดล้อมแล้วแต่กรณี)
 
3. ในสังคมหลายภาคส่วนของโลก [[การฆ่าตัวตาย]]ไม่ถือว่าเป็นการฆ่าคน เนื่องจากจำเลยและผู้เสียหายเป็นบุคคลเดียวกัน ทั้งนี้ การสนับสนุนการฆ่าตัวตายอาจถือว่าเป็นความผิดขึ้นอยู่กับสภาวะแวดล้อมแล้วแต่กรณี
 
=== ผู้เสียหาย ===
เส้น 65 ⟶ 60:
ในบางประเทศ หากมีการตรวจสอบตามกระบวนการแล้วพบว่าจำเลยวิกลจริตจริง จำเลยอาจอ้างเหตุดังกล่าวเป็นข้อต่อสู้คดีให้ตนพ้นมลทินได้<ref>R. v. M'Naughten, get full cite.</ref> โดยข้อต่อสู้คดีดังกล่าวต้องมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้
 
(1)# อาการวิกลจริตของจำเลยนั้นรุนแรงถึงขนาด หรือ
(2)# ในขณะกระทำความผิด อาการวิกลจริตนั้นกระทำให้สภาวะทางจิตใจของจำเลยไม่อาจรู้ดีรู้ชั่ว
 
(2) ในขณะกระทำความผิด อาการวิกลจริตนั้นกระทำให้สภาวะทางจิตใจของจำเลยไม่อาจรู้ดีรู้ชั่ว
 
ตัวอย่างเกี่ยวกับกรณีดังต่อไปนี้ เป็นต้นว่าที่บัญญัติไว้ในประมวลกฎหมายอาญาแห่ง[[ประเทศฝรั่งเศส|สาธารณรัฐฝรั่งเศส]] ดังต่อไปนี้
เส้น 87 ⟶ 81:
อย่างไรก็ดี ในทางกฎหมายทั่วไป การฆ่าคนถือว่าเป็นความผิดหากมีองค์ประกอบดังต่อไปนี้
 
1)# มีจำเลย
2)# พิจารณาสภาพจิตของจำเลย อย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้
 
ก)## มีความประสงค์จะฆ่าคน ในกรณีนี้ หากพบว่าจำเลยเจตนาใช้อาวุธอันตรายถึงตาย (deadly weapon) กระทำให้ผู้อื่นได้รับความเสียหายหรือถึงแก่[[ความตาย]] ก็ให้อนุมานเข้าข่ายว่ามีความประสงค์ตามข้อนี้เช่นกัน อาวุธดังกล่าว เป็นต้นว่า [[ปืน]] [[มีด]]ผาหน้าไม้ หรือ[[รถยนต์|รถ]]ในกรณีที่เจตนาใช้พุ่งชนผู้อื่น
2) พิจารณาสภาพจิตของจำเลย อย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้
ข)## มีความประสงค์จะก่อให้เกิดความบาดเจ็บสาหัสแก่ร่างกายของบุคคล (grievous bodily harm)
 
ค)## การนั้นได้กระทำไปโดยปราศจากความระมัดระวังหรือยับยั้งชั่งใจ หรือไม่อาจควบคุมตนเองได้ (abandoned and malignant heart) เป็นต้นว่า จำเลยรู้ดีว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดตามกฎหมาย และรู้ตัวว่ากำลังทำอะไรอยู่ แต่ก็กระทำความผิดนั้นลงไปโดยเพิกเฉยความรับรู้นั้นเสีย หรือได้กระทำไปเพราะระบบการทำงานของร่างกายปฏิเสธความรับรู้นั้นเสีย เช่น ในรัฐ[[แคลิฟอร์เนีย]] ผู้ร้ายฆ่าคนต้องระวางโทษอันดับที่สอง หากความผิดนั้นได้กระทำไปเพราะได้ดื่ม[[แอลกอฮอล์]] [[ยา]] หรือสารบางประเภท จนทำให้ไม่อาจควบคุมตนเองได้หรือทำให้[[สติ]]ไม่สมปฤดี
ก) มีความประสงค์จะฆ่าคน ในกรณีนี้ หากพบว่าจำเลยเจตนาใช้อาวุธอันตรายถึงตาย (deadly weapon) กระทำให้ผู้อื่นได้รับความเสียหายหรือถึงแก่[[ความตาย]] ก็ให้อนุมานเข้าข่ายว่ามีความประสงค์ตามข้อนี้เช่นกัน อาวุธดังกล่าว เป็นต้นว่า [[ปืน]] [[มีด]]ผาหน้าไม้ หรือ[[รถยนต์|รถ]]ในกรณีที่เจตนาใช้พุ่งชนผู้อื่น
ง)## มีความประสงค์จะกระทำความผิดโดยรู้ว่าเป็นความผิดอาญาอุกฉกรรจ์ (felony)
 
ข) มีความประสงค์จะก่อให้เกิดความบาดเจ็บสาหัสแก่ร่างกายของบุคคล (grievous bodily harm)
 
ค) การนั้นได้กระทำไปโดยปราศจากความระมัดระวังหรือยับยั้งชั่งใจ หรือไม่อาจควบคุมตนเองได้ (abandoned and malignant heart) เป็นต้นว่า จำเลยรู้ดีว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดตามกฎหมาย และรู้ตัวว่ากำลังทำอะไรอยู่ แต่ก็กระทำความผิดนั้นลงไปโดยเพิกเฉยความรับรู้นั้นเสีย หรือได้กระทำไปเพราะระบบการทำงานของร่างกายปฏิเสธความรับรู้นั้นเสีย เช่น ในรัฐ[[แคลิฟอร์เนีย]] ผู้ร้ายฆ่าคนต้องระวางโทษอันดับที่สอง หากความผิดนั้นได้กระทำไปเพราะได้ดื่ม[[แอลกอฮอล์]] [[ยา]] หรือสารบางประเภท จนทำให้ไม่อาจควบคุมตนเองได้หรือทำให้[[สติ]]ไม่สมปฤดี
 
ง) มีความประสงค์จะกระทำความผิดโดยรู้ว่าเป็นความผิดอาญาอุกฉกรรจ์ (felony)
 
'''=== องค์ประกอบของความผิดฐานฆ่าผู้อื่นตามกฎหมายไทย''' ===
 
กฎหมายไทยได้บัญญัติองค์ประกอบความผิดฐานฆ่าผู้อื่นไว้ในมาตรา 288 ประมวลกฎหมายอาญาดังนี้ "มาตรา ๒๘๘ ผู้ใดฆ่าผู้อื่น ต้องระวางโทษประหารชีวิต จำคุกตลอดชีวิต หรือจำคุกตั้งแต่สิบห้าปีถึงยี่สิบปี"
"มาตรา ๒๘๘ ผู้ใดฆ่าผู้อื่น ต้องระวางโทษประหารชีวิต จำคุกตลอดชีวิต หรือจำคุกตั้งแต่สิบห้าปีถึงยี่สิบปี"
 
ดังนั้น องค์ประกอบของความผิดฐานฆ่าผู้อื่นจึงได้แก่ องค์ประกอบภายนอก ได้แก่ ผู้ใด + ฆ่า + ผู้อื่น องค์ประกอบภายใน ได้แก่ เจตนาฆ่า (หากกระทำโดยประมาท หรือไม่มีเจตนาฆ่าโดยอาจมีเพียงเจตนาทำร้ายหรือไม่มีเจตนาเลย ก็จะไม่มีความผิดฐานฆ่าผู้อื่น แต่อาจเป็นความผิดฐานอื่น กล่าวคือ กระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย หรือทำร้ายจนเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย เป็นต้น)
ดังนั้น องค์ประกอบของความผิดฐานฆ่าผู้อื่นจึงได้แก่
องค์ประกอบภายนอก ได้แก่ ผู้ใด + ฆ่า + ผู้อื่น
องค์ประกอบภายใน ได้แก่ เจตนาฆ่า (หากกระทำโดยประมาท หรือไม่มีเจตนาฆ่าโดยอาจมีเพียงเจตนาทำร้ายหรือไม่มีเจตนาเลย ก็จะไม่มีความผิดฐานฆ่าผู้อื่น แต่อาจเป็นความผิดฐานอื่น กล่าวคือ กระทำโดยประมาทเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย หรือทำร้ายจนเป็นเหตุให้ผู้อื่นถึงแก่ความตาย เป็นต้น)
คำว่าเจตนานั้น หมายความว่าผู้กระทำรู้และตกลงใจที่จะกระทำ โดยประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผล (เพื่อให้ผู้อื่นตาย)