ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ชะพลู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tatung (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Tatung (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 30:
 
== การใช้ประโยชน์ ==
ในใบชะพลูมีสาร[[เบต้าบีตา-แคโรทีน]]สูงมาก ใบนำมารับประทานกับเมี่ยงคำ นำมาแกงใส่กะทิ [[ข้าวยำ]] [[ห่อหมก]] หรือเป็นผักจิ้มน้ำพริก ทางภาคใต้ใส่ในแกงกะทิ[[หอยขม]] แกงคั่วปู<ref>เมฆานี จงบุญเจือ และสมพิศ คลี่ขยาย. อาหารปักษ์ใต้ บ้าบ๋า ย่าหยาในอันดามัน. กทม. เศรษฐศิลป์ 2556</ref>ใน[[จังหวัดจันทบุรี]]ใส่ในแกงป่าปลา<ref>แกงป่า-ผัดเผ็ด. พิมพ์ครั้งที่ 2. กทม. แสงแดด. 2550</ref> ในใบมี[[ออกซาเลท]]สูง จึงไม่ควรรับประทานมากเป็นประจำ
 
ชะพลูเป็นพืชที่มีสรรพคุณทางยา ดอกทำให้เสมหะแห้ง ช่วยขับลมในลำไส้ รากขับเสมหะให้ออกมาทางระบบขับถ่าย ขับลมในลำไส้ ทำให้เสมหะแห้ง ต้นขับเสมหะในทรวงอก ใบมีรสเผ็ดร้อน ทำให้เจริญอาหาร ขับเสมหะ ใบ ต้น และดอกใช้ขับเสมหะ รากใช้ขับลม น้ำต้มทั้งต้นช่วยลดน้ำตาลในเลือดของกระต่ายที่เป็นเบาหวานได้<ref>อาหารจากสมุนไพร อร่อย สุขภาพดี. กทม. แม่บ้าน. มปป. หน้า 64 - 65</ref>
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ชะพลู"