ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลาเอี่ยนหู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23:
มีขนาดโตเต็มได้ราว 1.50 เมตร พบกระจายอยู่อย่างกว้างขวางตั้งแต่ฝั่ง[[แอฟริกาตะวันออก]] ถึง[[เฟรนช์โปลินีเซีย]] พบในภาคใต้ของ[[ประเทศญี่ปุ่น]]และ[[ไต้หวัน]] ใน[[ประเทศไทย]]พบเฉพาะใน[[แม่น้ำโขง]]แถบชายแดนไทย-[[ลาว]] และเรื่อยไปตามแม่น้ำโขงจนถึง[[ดินดอนสามเหลี่ยมปากแม่น้ำโขง]]ใน[[เวียดนาม]]
 
จัดเป็นปลาที่พบได้น้อยมาก เมื่อถูกชาวบ้านจับได้จะพบปรากฏเป็นข่าวฮือฮา บ้างจะถือว่าเป็น[[พญานาค]]บ้าง หรือปลาเจ้าบ้าง <ref>[http://australianmuseum.net.au/Giant-Mottled-Eel-Anguilla-marmorata Giant Mottled Eel, ''Anguilla marmorata'' Quoy & Gaimard, 1824 {{en}}]</ref> ชาวพื้นเมืองของภูมิภาคเฟรนช์โปลินีเซียและหมู่เกาะโซโลมอนมีความผูกพันกับปลาเอี่ยนหูมาก โดยจะให้อาหารบนบกให้ปลาเอี่ยนหูคลานขึ้นมากินเอง โดยเฉพาะเด็ก ๆ จะเล่นน้ำในลำธารพร้อมกับลูบคลำตัวปลาโดยที่ปลาเอี่ยนหูไม่ทำอันตรายแต่อย่างใด โดยถือว่าปลาเอี่ยนหูช่วยกินของเน่าเสีย ทำให้แหล่งน้ำดื่มสะอาด<ref>{{cite web|url=http://cuptv.com/play/2580/84107/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%8A%E0%B8%B8%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%87/14-%E0%B8%A1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1-2559-%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B9%8C%E0%B8%AA%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%87-%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%B8%99-%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B9%E0%B9%88%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%94%E0%B8%A9/|title=สารคดีชุดแดนพิศวง 14 มกราคม 2559 หมู่เกาะสววรค์สร้าง ตอน หมู่เกาะสันโดษ |date=14 January 2016|accessdate=15 January 2016|publisher=นาว 26}}</ref> และที่[[เกาหลีใต้]]ถูกกำหนดให้เป็นอนุสรณ์แห่งธรรมชาติ<ref>{{cite web|url=http://www.clip007.com/hourly-rerun/ch7/2015-12-26/04/|title=สุดยอดสารคดี แปซิฟิก สุดยอดแห่งผืนน้ำ: สารคดี |date=26 December 2015|accessdate=26 December 2015|publisher=ช่อง 7}}</ref>
 
== อ้างอิง ==