ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แร้ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
'''แร้ง''' หรือ '''อีแร้ง'''<ref name= "บรรจบ">บรรจบ พันธุเมธา, ศาสตราจารย์, ดอกเตอร์. ''ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย''. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2514, หน้า 67</ref> ({{lang-en|Vulture}}) เป็น[[นก]]ขนาดใหญ่จำพวกหนึ่ง อยู่ในกลุ่ม[[นกล่าเหยื่อ]]เช่นเดียวกับ[[เหยี่ยว]], [[อินทรี]] หรือ[[นกเค้าแมว]] โดยที่แร้งถือว่าเป็นนกที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในกลุ่มนี้
 
แร้ง จะแตกต่างจากไปนกในกลุ่มนี้คือ จะไม่ล่าเหยื่อหรือกิน[[สัตว์]]เป็น ๆ เป็นอาหาร แต่จะกินเฉพาะซากสัตว์ที่[[ตาย]]แล้ว อันเนื่องจากอุ้งตีนของแร้งนั้นไม่แข็งแรงพอที่จะขย้ำเหยื่อได้ เพราะได้วิวัฒนาการให้มีอุ้งตีนที่แบนและกรงเล็บที่เล็กสั้นเหมาะกับการอยู่บนพื้นดินมากกว่านกล่าเหยื่อจำพวกอื่น แร้งมีรูปร่างโดยรวมคือ ปีกกว้าง หางสั้น มีคอที่ยาว หัวเล็ก บริเวณต้นคอมีขน[[สีขาว]]รอบเหมือนสวม[[พวงมาลัย]] มีลักษณะเด่นคือ [[ขนสัตว์|ขน]]ที่หัวและลำคอแทบไม่มีเลยจนดูเหมือนโล้นเลี่ยน สันนิษฐานว่าคงเป็นเพราะพฤติกรรมการกินซากสัตว์ จึงไม่มีขนเพื่อไม่ให้เป็นที่สะสมของ[[เชื้อโรค]] และเพื่อความสะดวกในการในการมุดกินซากด้วย มีลิ้นที่มีร่องลึกและเงี่ยงเล็ก ๆ หันไปทางด้านหลังเพื่อช่วยในการกินอาหารคำโต อีกทั้งแร้งยังมีกระเพาะพิเศษขนาดใหญ่ที่เก็บอาหารซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของลำไส้หลอดอาหาร อีกทั้งในลำไส้รวมถึงกระเพาะของแร้งก็ยังมีกรดที่มีฤทธิกัดกร่อนสามารถฆ่าแบคทีเรียหรือจุลชีพอื่น ๆ ที่มีอยู่ในซากสัตว์ด้วย จึงทำให้แร้งสามารถกินซากเน่าเปื่อยได้โดยไม่เป็นอันตราย<ref name="หน้า"/> แต่กระนั้นแร้งก็ยังสามารถจับสัตว์ขนาดเล็ก เช่น [[แมลง]]หรือ[[สัตว์เลื้อยคลาน]]ขนาดเล็ก เช่น [[กิ้งก่า]], [[จิ้งจก]] หรือ[[ไข่]]นกชนิดอื่น กินเป็นอาหารในบางครั้งได้อีกด้วย
 
แร้งบางชนิดสามารถกินอาหารที่มีน้ำหนักถึงร้อยละ 20 ของน้ำหนักตัวได้ โดยเก็บไว้ในกระเพาะอาหารพิเศษที่เป็นส่วนหนึ่งของลำไส้หลอดอาหารเพื่อรอการย่อยต่อไป<ref name="หน้า"/>
 
== การจำแนก ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/แร้ง"