ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสือดาวอินโดจีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 14:
| trinomial_authority = [[Reginald Innes Pocock|Pocock]], 1930
}}
'''เสือดาวอินโดจีน''' หรือ '''เสือดาวจีนใต้'''<ref>หน้า 100-119, ''ก้าวย่างจากเงื้อมเงา'' โดย ริชาร์ด คอนนิฟฟ์. '''เนชั่นแนลจีโอกราฟิก ฉบับภาษาไทย''' ฉบับที่ 173: ธันวาคม 2558</ref> ({{lang-en|Indochinese leopard, South-Chinese leopard}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Panthera pardus delacouri}}) เป็น[[ชนิดย่อย]]ของ[[เสือดาว]] (''P. pardus'') ชนิดหนึ่ง โดยชื่อวิทยาศาสตร์ตั้งขึ้นเพื่อเป็นเกียรติแก่นักปักษีวิทยาชาวฝรั่งเศส-อเมริกัน [[ฌองฌ็อง ทีโอดอร์เตออดอร์ เดลาคอร์อลากูร์]] นักปักษีวิทยาชาวฝรั่งเศส-อเมริกัน<ref>{{cite journal|last=Beolens|first=Bo|last2= Watkins|first2=Michael|last3=Michael |first3=Grayson|url= https://books.google.co.th/books?id=I-kSmWLc6vYC&pg=PA105&lpg=PA105&dq=Panthera+pardus+delacouri+for+Jean+Th%C3%A9odore+Delacour&source=bl&ots=WqkfzJV5-m&sig=6qdS7K4fvAO6uZxuN1cjWALYb1s&hl=en&sa=X&ved=0ahUKEwj6_OaqqpvKAhUXj44KHQEEDcIQ6AEIGjAA#v=onepage&q&f=false|format=PDF|title=The Eponym Dictionary of Mammals|journal= |issue=1|pages=105}}</ref>
 
เสือดาวอินโดจีนมีรูปร่างและลักษณะคล้ายกับ[[เสือดาวอินเดีย]] (''P. pardus fusca'') ที่พบในภูมิภาคอนุทวีปอินเดีย แต่มีขนาดลำตัวใหญ่กว่าเล็กน้อย โดยมีสีขนออกเปนเป็นสีแดงเขมเข้ม แตมแต้มจุดรอบนอกของลายขยุมตีนหมาคอนขางหนาขยุ้มตีนหมาค่อนข้างหนา ขนาดของลายขยุมขยุ้มตีนหมาโดยเฉลี่ยเล็กกวาของกว่าของ[[เสือดาวอามูร์]] (''P. pardus orientalis'') และ[[เสือดาวจีนเหนือ]] (''P. pardus japonensis'') พบกระจายพันธุ์พันธุ์ตั้งแต่ภาคใตใต้ของจีน, ภาคตะวันออกของอินเดีย และหลายประเทศในภูมิภาคอินโดจีน รวมถึงประเทศไทย <ref name="เสือ">{{cite journal|last=วงศ์ถิรวัฒนวงศ์ถิรวัฒน์|first=สวัสดิ์|url=http://web3.dnp.go.th/wildlifenew/downloads/Leopard%20or%20Panther.pdf |format=PDF|title=เสือดาว|journal= wildlifenew|issue=1|pages=11}}</ref>
 
เสือดาวอินโดจีน ใน[[เขตอนุรักษ์รักษาพันธุ์สัตว์ป่าจิตวันชะตี้น]]ของเมียนมาพม่ามีปริมาณลดลงอย่างมากในช่วง 40 ปี ตั้งแต่คริสต์ทศวรรษที่ 40–80 โดยอยู่ที่ประมาณ 2,000 ตัว1940–1980 จนกระทั่งในยุค 2000 มีสถานะเป็นสัตว์ใกล้สูญพันธุ์ในท้องถิ่นเมื่อถึงปี ค.ศ. 2000<ref>{{cite journal | last1 = Aung| first1 = M. | last2 = Swe | first2 = K. K. | last3 = Oo | first3 = T. | last4 = Moe | first4 = K. K. | last5 = Leimgruber | first5 = P. | last6 = Allendorf | first6 = T. | last7 = Duncan | first7 = C. | last8 = Wemmer | first8 = C. | year = 2004 | id = {{citeseerx|10.1.1.61.3531}} | title = The environmental history of Chatthin Wildlife Sanctuary, a protected area in Myanmar (Burma) | journal = Journal of Environmental Management | volume = 72 | pages = 205–216 | doi=10.1016/j.jenvman.2004.04.013}}</ref>
[[ภาพ:Panthera pardus delacouri 05 MWNH 376.jpg|thumb|left|กะโหลกของเสือดาวอินโดจีน]]
ในประเทศไทย พบกระจายพันธุ์ที่[[อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน]] ในจังหวัดเพชรบุรี และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ในจังหวัดอุทัยธานีและกาญจนบุรี โดยการศึกษาด้วยปลอกคอวิทยุในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 901990 ที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน พบว่าเสือดาวอินโดจีนตัวผู้มีพื้นที่หากินประมาณ 14.6–18.0 ตารางกิโลเมตร (5.6–6.9 ตารางไมล์) และตัวเมียที่ 8.8 ตารางกิโลเมตร (3.4 ตารางไมล์) เสือดาวอินโดจีนต้องอาศัยอยู่ในพื้นที่ที่เป็นป่าอุดมสมบูรณ์มีปริมาณอาหารที่เพียงพอ ในระดับต่ำกว่า 500–600 เมตร (1,600–2,000 ฟุต) จากระดับน้ำทะเล ในช่วงฤดูฝนถิ่นที่อยู่จะขยายกว้างออกไป<ref>Grassman, L. (1999). [http://www.felidae.org/LIBRARY/grassman_1999.pdf ''Ecology and behavior of the Indochinese leopard in Kaeng Krachan National Park, Thailand'']. Natural History Bulletin Siam Society 47: 77–93</ref>
 
และเสือดาวอินโดจีนจำนวน 10 ตัว ในพื้นที่ด้านตะวันตกเฉียงเหนือของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จากการติดตามศึกษาราว 9–41 เดือน พบว่าตัวผู้มีพื้นที่หากิน 35.2–64.6 กิโลเมตร (13.6–24.9 ตารางไมล์) และตัวเมียขนาดใหญ่ 6 ตัว 17.8–34.2 กิโลเมตร 2 (6.9–13.2 ตารางไมล์) และทั้งหมดได้ขยายถิ่นที่อยู่ในช่วงฤดูแล้งราวเดือนพฤศจิกายนถึงเมษายน เสือดาวอินโดจีนทั้งหมดอาศัยอยู่ในป่าดิบแล้งและป่าผลัดใบที่มีความลาดชันและอยู่ใกล้แหล่งน้ำ<ref>Simcharoen, S., Barlow, A.C.D., Simcharoen, A., Smith, J.L.D. (2008). ''Home range size and daytime habitat selection of leopards in Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuary, Thailand.'' Biological Conservation 141 (9/2008): 2242–2250.</ref>
 
ใน[[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา]] ที่อยู่ในแนวชายแดนไทย-มาเลเซีย พบเพียง 2 ตัวเท่านั้นที่เดินผ่านกล้องในปี ค.ศ. 2004 และในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2007<ref>Kitamura, S., Thong-Aree, S., Madsri; S., Pooswad, P. (2010). [http://rmbr.nus.edu.sg/rbz/biblio/58/58rbz145-156.pdf ''Mammal diversity and conservation in a small isolated forest os southern Thailand'']. The Raffles Bulletin of Zoology 2010 58 (1): 145–156.</ref>
 
โดยเสือดาวอินโดจีน ในไทยไม่มีพฤติกรรมซ่อนเหยื่อบนต้นไม้มากเหมือน[[เสือดาวแอฟริกา]] (''P. pardus pardus'') ในทวีปแอฟริกา และในพื้นที่ภาคใต้ พบเสือดาวที่เป็น[[เสือดำ]]มาก สันนิษฐานว่าคงเป็นเพราะสภาพพื้นที่เป็น[[ป่าดงดิบ|ป่ารกทึบ]] <ref name="เสือ"/>
 
==อ้างอิง==