ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เสือดาวอินโดจีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24:
และเสือดาวอินโดจีนจำนวน 10 ตัว ในพื้นที่ด้านตะวันตกเฉียงเหนือของเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จากการติดตามศึกษาราว 9–41 เดือน พบว่าตัวผู้มีพื้นที่หากิน 35.2–64.6 กิโลเมตร (13.6–24.9 ตารางไมล์) และตัวเมียขนาดใหญ่ 6 ตัว 17.8–34.2 กิโลเมตร 2 (6.9–13.2 ตารางไมล์) และทั้งหมดได้ขยายถิ่นที่อยู่ในช่วงฤดูแล้งราวเดือนพฤศจิกายนถึงเมษายน เสือดาวอินโดจีนทั้งหมดอาศัยอยู่ในป่าดิบแล้งและป่าผลัดใบที่มีความลาดชันและอยู่ใกล้แหล่งน้ำ<ref>Simcharoen, S., Barlow, A.C.D., Simcharoen, A., Smith, J.L.D. (2008). ''Home range size and daytime habitat selection of leopards in Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuary, Thailand.'' Biological Conservation 141 (9/2008): 2242–2250.</ref>
 
ใน[[เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าฮาลา-บาลา]] ที่อยู่ในแนวชายแดนไทย-มาเลเซีย พบเพียง 2 ตัวเท่านั้นที่เดินผ่านกล้องในปี ค.ศ. 2004 และในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2007<ref>Kitamura, S., Thong-Aree, S., Madsri; S., Pooswad, P. (2010). [http://rmbr.nus.edu.sg/rbz/biblio/58/58rbz145-156.pdf ''Mammal diversity and conservation in a small isolated forest os southern Thailand'']. The Raffles Bulletin of Zoology 2010 58 (1): 145–156.</ref>
 
โดยเสือดาวอินโดจีน ในไทยไม่มีพฤติกรรมซ่อนเหยื่อบนต้นไม้มากเหมือน[[เสือดาวแอฟริกา]] (''P. pardus pardus'') ในทวีปแอฟริกา และในพื้นที่ภาคใต้ พบเสือดาวที่เป็น[[เสือดำ]]มาก สันนิษฐานว่าคงเป็นเพราะสภาพพื้นที่ ๆ เป็น[[ป่าดงดิบ|ป่ารกทึบ]] <ref name="เสือ"/>