ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ข้าวโพด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thunyawit (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 41:
ข้าวโพดที่ใช้เลี้ยงสัตว์ในประเทศไทยมีหลายพันธุ์ ที่นิยมปลูกในประเทศไทยได้แก่ พันธุ์กัวเตมาลา พียี 12 (Rep.1) กัวเตมาลา พีบี 12 (Rep.2) พีบี 5 ข้าวโพดเหนียว และโอเปค-2 มีเมล็ดตั้งแต่สีขาว สีเหลืองไปจนถึงสีแดง ขนาดของเมล็ดขึ้นอยู่กับพันธุ์ โดยทั่วไปจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางอยู่ในช่วง 0.5-0.8 ซม. ก่อนนำมาเลี้ยงสัตว์จึงต้องบดก่อนเพื่อช่วยให้การย่อยและการผสมได้ผลดีขึ้น ที่บดแล้วจะมีขนาดประมาณ 1-8 มม.
 
== ปริมาณข้าโพด ==
ข้าวโพดเลี้ยงสัตวมีการปลูกกันมากทั่วโลก และมีปริมาการผลิตที่เพิ่มมากขึ้นทุกปีมากกว่าธัญพืชชนิดอื่นๆ ประเทศ[[สหรัฐอเมริกา]] สามารถผลิตข้าวโพดมากถึง 40 % ของโลก และประเทศอื่นที่สามารถผลิตข้าวโพดได้มาก เช่น [[จีน]], [[บราซิล]], [[เม็กซิโก]], [[อินโดนีเซีย]], [[อินเดีย]], [[ฝรั่งเศส]]และ[[อาร์เจนตินา]] ในปี 2009 สามารถผลิตข้าวโพดได้ 817 ล้านตัน ซึ่งมากกว่าข้าวและข้าวสาลีที่ผลิตได้
678 และ 682 ล้านตัน ตามลำดับ ในปี 2009 มีพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์มากกว่า 3,900 ล้านไร่
== ประโยชน์ในด้านอื่นๆ ==
ข้าวโพดสามารถส่งเสริมการย่อยสลาย[[พีเอเอช]]ที่ปนเปื้อนในดิน เช่นย่อยสลาย [[ฟีแนนทรีน]] [[ไพรีน]]ได้ 90 % ที่ความเข้มข้นเริ่มต้น 100 mg/kg <ref>Chouychai, W., Thongkukiatkul, A., Upatham, S., Lee, H., Pokethitiyook, P., and Kruatrachue, M. (2009). [http://apps.isiknowledge.com/full_record.do?product=WOS&search_mode=GeneralSearch&qid=1&SID=U2lBCFbee1OFg7mDk56&page=1&doc=1 Plant-assisted phenanthrene and pyrene biodegradation in acidic soil]. Journal of Environmental Biology,30, 139-144</ref> และยังส่งเสริมการย่อยสลาย [[แอนทราซีน]]<ref>Somtrakoon, K., W. Chouychai, H. Lee.[http://www.tandfonline.com/doi/full/10.1080/15226514.2013.803024 Comparing Anthracene and Fluorene Degradation in Anthracene and Fluorene-Contaminated Soil by Single and Mixed Plant Cultivation] International Journal of Phytoremediation. 2014. 16: 415-428. DOI: 10.1080/15226514.2013.803024</ref> [[เอนโดซัลแฟน]] ซัลเฟต<ref>Somtrakoon, K., M. Kruatrachue, and H. Lee.[http://link.springer.com/article/10.1007/s11270-014-1886-0 Phytoremediation of Endosulfan Sulfate-Contaminated Soil by Single and Mixed Plant Cultivations]. Water, Air, & Soil Pollution. 2014, 225:1886</ref>ได้ด้วย จึงมีประโยชน์ต่อการนำไปใช้[[phytoremediation|ฟื้นฟู]]ดินที่ปนเปื้อนสารมลพิษอินทรีย์