ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่าน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Nullzerobot (คุย | ส่วนร่วม)
ลบลิงก์ที่ซ้ำซ้อน wikidata
Lephill (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
[[ไฟล์:Haregarius 001.jpg| thumb|250px|ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่านล้อมรอบพระเยซู วาดราว ค.ศ. 850 โดย แฮริกาเรียสแห่งทัวรส์ (Haregarius ofTours)]]
[[ไฟล์:Germany Rottenburg St-Moritz Evangelists.jpg|thumb|right|250px|ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่านบนเพดานบริเวณสงฆ์ในวัดเซ็นต์โมริทซ (St. Moritz) ที่โรทเท็นเบิร์กอัมเนคคาร์ (Rottenburg am Neckar) ประเทศเยอรมันจากบนซ้ายนักบุญมัทธิว (มนุษย์) นักบุญมาระโก (สิงโต) นักบุญลูกา (วัว) และนักบุญยอห์น (อินทรี)]]
'''ผู้นิพนธ์พระวรสารสี่ท่าน'''<ref>ราชบัณฑิตยสถาน, ''พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน'', พิมพ์ครั้งที่ 3, ราชบัณฑิตยสถาน, 2552, หน้า 203-4</ref> ({{lang-en|Four Evangelists}}) หมายถึงผู้ประพันธ์[[พระวรสาร]]สี่เล่มซึ่งเป็นเอกสารส่วนหนึ่งของ[[พันธสัญญาใหม่]]ใน[[คัมภีร์ไบเบิล]] วรสาร แปลว่า ข่าวประเสริฐ ซึ่งหมายถึงข่าวการเสด็จมาของ[[พระเยซู]] หรือชีวประวัติของพระองค์นั่นเอง<ref>“The good news of Jesus Christ, the Son of God. ” มาระโก 1:1</ref> อย่างไรก็ดีพระวรสารเขียนขึ้นประมาณหลังจาก[[พระเยซูสิ้นพระชนม์เสด็จขึ้นสู่สวรรค์]]ไปแล้วเกือบหนึ่งร้อยปี<ref>[http://www.pbs.org/wgbh/pages/frontline/shows/religion/story/mmindex.html “เรื่องของคนเล่าเรื่อง: บทนำ” (PBS Frontline)]</ref>
 
== พระวรสารทั้งสี่เล่ม ==
บรรทัด 14:
 
== ผู้ประกาศทั้งสี่ ==
* [[มัทธิวผู้นิพนธ์พระวรสาร]] – เดิมเป็นผู้เก็บภาษีที่ถูกเรียกตัวโดย [[พระเยซู]] เพื่อให้มาเป็นหนึ่งในอัครสาวกสิบสององค์ [[อัครทูต]]
* [[มาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร]] – ผู้ติดตาม[[นักบุญเปโตร]] จึงเรียกว่า “คนของอัครทูต” (Apostolic man)
* [[ลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร]] – เดิมเป็นแพทย์นอกจากพระวรสารก็ยังเป็นผู้เขียน “หนังสือลูกา” ถึงเพื่อนชื่อทีโอฟิลุส (Theophilus) <br />และ “[[หนังสือกิจการของอัครสาวก”อัครทูต]]” ถึง [[นักบุญเปาโล]]
* [[ยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร]] – สาวกของ[[พระเยซู]] และอาจจะเป็นสาวกที่อายุน้อยที่สุดในบรรดาอัครทูต
 
== สัญลักษณ์ของผู้นิพนธ์พระวรสาร ==
ในการวาดภาพผู้ผู้นิพนธ์พระวรสารแต่ละท่านจะมีสัญลักษณ์ต่างๆ กันซึ่งมาจาก[[พระธรรมหนังสือเอเสเคียล]] บทที่ 1 และ[[พระธรรมหนังสือวิวรณ์]] (4.6-9 และต่อมา) แต่หนังสือทั้งสองก็มิได้บ่งบอกแน่นอนถึงสิ่งที่ใช้เป็นสัญลักษณ์ของผู้ผู้นิพนธ์พระวรสาร สัญลักษณ์ที่ใช้เป็นสิ่งที่วิวัฒนาการขึ้นมาจนกระทั่งมาถึง ราบานุส มอรุส (Rabanus Maurus) ผู้บรรยายถึงความหมายของสิ่งที่ใช้เป็นสัญลักษณ์ว่ามีความหมายเป็นสามขั้นตอน ขั้นแรกสัญลักษณ์ใช้เป็นสัญลักษณ์แทนพระเยซู ขั้นที่สองเป็นสัญลักษณ์แทนการกระทำของพระองค์ และขั้นที่สามเป็นสัญลักษณ์สำหรับสำหรับคริสต์ศาสนิกชนผู้ซึ่งต้องได้รับการไถ่บาป
<ref>Emile Male, The Gothic Image , Religious Art in France of the Thirteen Century, p 35-7, English trans of 3rd edn, 1913, Collins, London (and many other editions) </ref>
::*'''นักบุญมัทธิวผู้นิพนธ์พระวรสาร''' ผู้ที่เชื่อกันว่าเป็นผู้ประพันธ์ “พระวรสารนักบุญมัทธิว” ใช้สัญลักษณ์เป็นมนุษย์มิใช่เทวดาที่บางครั้งเชื่อกัน ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของมวลมนุษย์และสัญลักษณ์ของเหตุผล
::*'''นักบุญมาระโกผู้นิพนธ์พระวรสาร''' ผู้ที่เชื่อกันว่าเป็นผู้ประพันธ์ “พระวรสารนักบุญมาระโก” ใช้สัญลักษณ์สิงโตมีปีกซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความเก่งกล้าและความมีเชื้อสาย นักบุญมาระโกกล่าวว่ายอห์นแบ็พทิสต์[[ยอห์นผู้ให้บัพติศมา]]เทศนาราวกับ “สิงโตคำราม” ในพระวรสารตอนต้นๆ นอกจากนั้นสิงโตยังใช้เป็นสัญลักษณ์แทน “[[การคืนพระชนม์ของพระเยซูฟื้นชีพ”]]” เพราะเชื่อกันว่าเวลาสิงโตนอนหลับจะลืมตาหลับเปรียบกับพระเยซูในหลุมศพและพระเยซูผู้เป็นกษัตริย์
::*'''นักบุญลูกาผู้นิพนธ์พระวรสาร''' ผู้ที่เชื่อกันว่าเป็นผู้ประพันธ์ “พระวรสารนักบุญลูกา” และ “หนังสือกิจการของอัครทูต” ใช้สัญลักษณ์วัว ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของความเสียสละ การทำประโยชน์ และความแข็งแกร่ง
::*'''นักบุญยอห์นผู้นิพนธ์พระวรสาร''' ผู้ที่เชื่อกันว่าเป็นผู้ประพันธ์ “พระวรสารนักบุญยอห์น” และ “หนังสือวิวรณ์” ใช้สัญลักษณ์อินทรี ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของพระเยซูเสด็จขึ้นสู่สวรรค์ และคุณความดีพระกิตติคุณของพระองค์
 
== อ้างอิง ==