ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กลุ่มดาวหมีใหญ่"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
OctraBot (คุย | ส่วนร่วม)
migrateToWikidata at d:q8918
Pluto p (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 24:
 
สำหรับคนในซีกโลกเหนือ กลุ่มดาวหมีใหญ่เป็นกลุ่มดาวที่มองเห็นได้ตลอดทั้งปีเช่นเดียวกับ[[ดาวเหนือ]] แต่ในทางกลับกันเนื่องจากเป็นกลุ่มดาวที่อยู่ในซีกฟ้าเหนือ ผู้ที่อาศัยอยู่ทางซีกโลกใต้มาก ๆ จะเห็นได้ลำบาก เพราะตำแหน่งดาวบน[[ทรงกลมท้องฟ้า]] จะอยู่ใต้พื้นโลกเกือบตลอดเวลา
 
==ดาวชาละวัน==
ในกลุ่มดาวหมีใหญ่ มีดาวฤกษ์ดวงสำคัญประมาณ 20 ดวง หนึ่งในนั้นคือดาว 47 Ursae majoris หรือ ดาว 47 หมีใหญ่ ซึ่งเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2558 [[สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล]] ได้ประกาศชื่อสามัญให้กับดาว 47 Ursae majoris ใหม่ว่า "[[ดาวชาละวัน]]" (Chalawan) อันเป็นชื่อสามัญของดาวฤกษ์เป็นภาษาไทย ครั้งแรกในประวัติศาสตร์ พร้อมๆ กับการประกาศชื่อดาวฤกษ์ใหม่อีก 13 ดวง <ref>[http://nameexoworlds.iau.org/names "The approved names of 14 stars and 31 exoplanets"]The International Astronomical Union (IAU)</ref>
ส่วนดาวเคราะห์ในระบบของดาว 47 หมีใหญ่ อีก 2 ดวง คือดาว 47 Ursae majoris b (ดาว 47 หมีใหญ่ b) และดาว 47 Ursae majoris c (ดาว 47 หมีใหญ่ c) ได้ชื่อสามัญว่า "[[ดาวตะเภาทอง]]" (Taphao Thong) และ "[[ดาวตะเภาแก้ว]]" (Taphao Kaew) ตามลำดับ โดยชื่อทั้ง 3 เสนอโดย[[สมาคมดาราศาสตร์ไทย]]<ref>[http://thaiastro.nectec.or.th/news/viewnews.php?newsid=349 "ชนะแล้ว "ชาละวัน" ชื่อดาวไทยสากลชื่อแรกบนฟากฟ้า"] ข่าวดาราศาสตร์ 15 ธ.ค. 2558 รายงานโดย: วิมุติ วสะหลาย สมาคมดาราศาสตร์ไทย</ref> และได้รับคะแนนเสียงสนับสนุนมากที่สุดในการเสนอชื่อดาวครั้งนี้
 
==แหล่งอ้างอิง==
<references/>
==ดูเพิ่ม==
*[https://3lmhqa.by3301.livefilestore.com/y3m74rkU8x-gnDYTnVjaKVIRLj5zqf4k-RQppumJp3N0uH_QyykqhQSTctTAfe7nKS26slQvJ_R2r0YfJQOvnHFFtRgKw5i2mL9iJbd61gv_KPaNrYVE98KGi9mfysWKOC_LO0-2T4q0_du4xo6qL1btOCeagQ5DglvNc9bJrUGqiM/chalawan-booklet-local-final-3.pdf?psid=1"กว่าจะมาเป็นดาวชาละวัน"]หนังสือที่ระลึกเนื่องในโอกาสที่ชื่อ "ชาละวัน" ได้ขึ้นไปประดับฟ้าสากล เผยเบื้องหน้าเบื้องหลัง และรายละเอียดเกี่ยวกับดาวชาละวัน โดย สมาคมดาราศาสตร์ไทย
 
{{กลุ่มดาวโดยทอเลมี}}