ผลต่างระหว่างรุ่นของ "นโปเลียนที่ 2"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Applezapotis (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 24:
== พระราชประวัติ ==
=== ประสูติ ===
[[Imageไฟล์:The King of Rome Pierre-Paul Prud'hon.jpg|230px|right|thumb|เจ้าชายนโปเลียน ''พระมหากษัตริย์แห่งโรม'' เมื่อทรงพระเยาว์ วาดโดยปีแยร์-โปล ปรูโดง]]
ในช่วงเวลา 20 ถึง 21 นาฬิกาของคืนวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2354 [[มารี หลุยส์ ดัชเชสแห่งปาร์มา|จักรพรรดินีมารี หลุยส์]] ทรงรู้สึกเจ็บพระครรภ์แรก นางสนองพระโอษฐ์จึงได้แจ้งให้บรรดาบุคคลสำคัญต่าง ๆ ทราบ อาทิเช่น บรรดาเจ้าชายและเจ้าหญิงแห่งพระราชวงศ์ เจ้านายชั้นสูง รัฐมนตรี เสนาบดีใหญ่แห่งสำนักพระราชวัง เสนาบดีใหญ่แห่งจักรวรรดิ ตลอดจนบรรดาข้าราชบริพารทั้งชายและหญิงในราชสำนัก ต่างพากันมารวมตัวกัน ณ พระราชวังตุยเลอรี<ref>{{cite news | url=http://www.napoleon.org/en/reading_room/articles/files/478809.asp | title=The King of Rome's birth | work=[[Le Moniteur Universel]] | date=21 March 1811 | accessdate=8 March 2012 | location=Paris}}</ref> ต่อมาในเช้าวันที่ 20 มีนาคม เวลา 9.20 นาฬิกา ได้มีพระประสูติกาลเป็นทารกเพศชายน้ำหนัก {{convert|9|lb|kg}} และส่วนสูง {{convert|20|in|cm}} ทรงได้รับการเจิม ([[พิธีรับเข้าเป็นคริสต์ศาสนิกชน|พิธีบัพติศมา]]แบบย่อตามขนบธรรมเนียมฝรั่งเศส) โดยโฌแซ็ฟ เฟ็สช์ และมีพระนามเต็มว่า ''นโปเลียน ฟร็องซัว ชาร์ล โฌแซ็ฟ''<ref name="napoleon">{{cite web | url=http://www.napoleon.org/en/reading_room/biographies/files/478853.asp | title=Napoleon II: King of Rome, French Emperor, Prince of Parma, Duke of Reichstadt | publisher=napoleon.org | work=The Napoleon Foundation | date=March 2011 | accessdate=8 March 2012}}</ref>
 
บรรทัด 33:
 
===พระราชสิทธิ์สืบราชสมบัติ===
เนื่องจากเป็นพระราชโอรสองค์โตที่ถูกต้องตามกฏหมายกฎหมายของจักรพรรดินโปเลียนที่ 1 รัฐธรรมนูญจึงรับรองพระราชสถานะของพระองค์เป็นเจ้าชายแอ็งเปรียาลและรัชทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง นอกจากนี้จักรพรรดิยังพระราชทานพระอิสริยยศแก่พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์แห่งโรมอีกด้วย ถึงกระนั้นก็ตาม [[จักรวรรดิฝรั่งเศสที่หนึ่ง]]ที่พระองค์เป็นรัชทายาทก็ล่มสลายลงในอีกสามปีถัดมา
 
จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 ทรงพบปะกับพระชายา (จักรพรรดินีมารี หลุยส์) และพระราชโอรสของพระองค์เป็นครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2357<ref>{{cite web|url=http://www.musee-chateau-fontainebleau.fr/The-First-Empire?lang=en |title=Ch?teau de Fontainebleau |publisher=Musee-chateau-fontainebleau.fr |date= |accessdate=2012-08-28}}</ref> และต่อมาในวันที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2357 ก็ทรงสละราชสมบัติให้แก่พระราชโอรสวัย 3 ชันษา ภายหลัง[[การทัพหกวัน]]<!--Six Days' Campaign--> และ[[ยุทธการที่ปารีส (ค.ศ. 1814)|ยุทธการที่ปารีส]] เจ้าชายพระองค์น้อยจึงได้ขึ้นเสวยราชย์ด้วยพระนาม '''นโปเลียนที่ 2''' อย่างไรก็ตามในวันที่ 6 เมษายน พ.ศ. 2357 จักรพรรดินโปเลียนที่ 1 สละราชสมบัติโดยครบถ้วนสมบูรณ์ รวมทั้งสละพระราชสิทธิ์ของพระองค์และรัชทายาทเหนือราชบัลลงก์ฝรั่งเศสด้วย ทั้งนี้สนธิสัญญาฟงแตนโบลปี พ.ศ. 2357 ยังมอบสิทธิ์ในการใช้พระอิสริยยศ ''เจ้าชายแห่งปาร์มา ปลาเซนตีอา และกัสตัลลา'' แก่นโปเลียนที่ 2 และพระอิสริยยศ ''ดัชเชสแห่งปาร์มา ปลาเซนตีอา และกัสตัลลา'' แก่พระราชมารดาของพระองค์
 
===ครองราชย์===
[[Fileไฟล์:80 Napoleon II.jpg|left|thumb|180px|พระสาทิสลักษณ์ของเจ้าชายนโปเลียน ฟรันซ์ ดยุกแห่งไรช์ชตัดท์]]
[[Imageไฟล์:Nap-receis 50.jpg|thumb|left|180px|พระสาทิสลักษณ์โดย มอริตซ์ ดาฟฟิงแกร์]]
ในวันที่ 29 มีนาคม พ.ศ. 2357 พระนางมารี หลุยส์ เสด็จ ฯ ออกจากพระราชวังตุยเลอรีพร้อมกับพระราชโอรส โดยที่หมายแรกก็คือพระราชวังร็องบูเยต์ แต่ด้วยความที่ทรงกลัวกองทหารของฝ่ายศัตรูที่กำลังคืบคลานเข้ามา จึงเสด็จ ฯ ต่อไปยังพระราชวังบลัว ต่อมาในวันที่ 13 เมษายน พระนางและพระราชโอรสจึงเสด็จ ฯ กลับไปยังพระราชวังร็องบูเยต์ และทรงพบกับพระราชบิดา [[จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 2 แห่งจักรวรรดิโรมันอันศักดิ์สิทธิ์|จักรพรรดิฟรันซ์ที่ 1 แห่งออสเตรีย]] พร้อมด้วย[[ซาร์อะเลคซันดร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย|จักรพรรดิอะเลคซันดร์ที่ 1 แห่งรัสเซีย]] จากนั้นในวันที่ 23 เมษายน พระนางและพระราชโอรสจึงเสด็จ ฯ ออกจากร็องบูเยต์และฝรั่งเศสไปพำนักลี้ภัยอยู่ที่ออสเตรียเป็นการถาวร ภายใต้การอารักขาของกองทหารออสเตรีย โดยมิมีโอกาสได้เสด็จ ฯ กลับมาอีกเลยตลอดช่วงพระชนม์ชีพที่เหลือ<ref>G. Lenotre, ''le Château de Rambouillet, six siècles d'histoire'', ch. ''L'empereur'', Éditions Denoël, Paris, 1984 (1930 reedition), pp. 126–133, ISBN 2-207-23023-6.</ref>
 
บรรทัด 55:
 
Upon the death of his stepfather, [[Adam Albert von Neipperg]], and the revelation that his mother had borne two illegitimate children to him prior to their marriage, Franz grew distant with his mother and felt that his Austrian family were holding him back to avoid political controversy. He said to his friend, [[Anton von Prokesch-Osten]], "If [[Joséphine de Beauharnais|Josephine]] had been my mother, my father would not have been buried at [[Saint Helena]], and I should not be at Vienna. My mother is kind but weak; she was not the wife my father deserved".<ref>Markham, Felix, ''Napoleon'', p. 249</ref>
[[Fileไฟล์:Herzog von Reichstadt auf dem Totenbett.jpg|thumb|left|242px242px|Portrait on his death bed, engraved by [[Franz Xaver StöberStöber]]]]
 
In 1831, Franz was given command of an Austrian battalion, but he never got the chance to serve in any meaningful capacity. In 1832, he caught [[pneumonia]] and was bedridden for several months. His poor health eventually overtook him and on July 22, 1832, Franz died of [[tuberculosis]] at [[Schönbrunn Palace]] in [[Vienna]].<ref>Altman, Gail S. Fatal Links: The Curious Deaths of Beethoven and the Two Napoleons (Paperback). Anubian Press (September 1999). ISBN 1-888071-02-8</ref> He left no issue, thus the Napoleonic claim to the throne of France was taken over by his cousin, Louis-Napoléon Bonaparte, who later successfully restored the empire as [[Napoleon III]].