ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โดพามีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Johm RN (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ไขคำ
Johm RN (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มเติมเนื้อหาจากเพจภาษาอังกฤษ
บรรทัด 32:
}}
}}
'''โดพามีน''' ({{lang-en|Dopamine}}) เป็นสารประกอบอินทรีย์ในกลุ่มเดียวกัน แคทิคอลลามีน และ เฟนเอทิลเอมีน ซึ่งมีความสำคัญกับสมองและร่างกาย ซื่อโดพามีน ได้จากโครงสร้างทางเคมี ซึ่งสังเคราะห์โดยการเปลี่ยนหมู่กรดอินทรีย์ของ L-DOPA ( L-3,4-dihydroxyphenylalanine''')''' ให้เป็นหมู่อะมิโน ซึ่งเป็นสารเคมีที่ผลิตขึ้นในสมองและไต และพบว่าพืชและสัตว์บางชนิดก็สามารถสังเคราะห์ได้เช่นกัน
'''โดพามีน''' ({{lang-en|Dopamine}}) เป็นสารเคมีที่ผลิตขึ้นในร่างกาย ใน[[สมอง]] โดพามีนทำหน้าที่เป็น[[สารสื่อประสาท]] (neurotransmitter) คอยกระตุ้น ตัวรับโดพามีน (dopamine receptor) โดพามีนทำหน้าที่เป็น[[ฮอร์โมนประสาท]] (neurohormone) ที่หลั่งมาจากสมองส่วน[[ไฮโปทาลามัส]] (hypothalamus) หน้าที่หลักของฮอร์โมนตัวนี้คือยับยั้งการหลั่ง[[โปรแลคติน]] (prolactin) จาก[[ต่อมใต้สมอง]]ส่วนหน้า (anterior pituitary)
 
'''โดพามีน''' ({{lang-en|Dopamine}}) เป็นสารเคมีที่ผลิตขึ้นในร่างกาย ใน[[สมอง]] โดพามีนทำหน้าที่เป็น[[สารสื่อประสาท]] (neurotransmitter) คอยกระตุ้น ตัวรับโดพามีน (dopamine receptor) โดพามีนทำหน้าที่เป็น[[ฮอร์โมนประสาท]] (neurohormone) ที่หลั่งมาจากสมองส่วน[[ไฮโปทาลามัส]] (hypothalamus) หน้าที่หลักของฮอร์โมนตัวนี้คือยับยั้งการหลั่ง[[โปรแลคติน]] (prolactin) จาก[[ต่อมใต้สมอง]]ส่วนหน้า (anterior pituitary)
 
โดพามีนสามารถใช้เป็นยา ซึ่งมีผลต่อระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system) โดยมีผลลัพธ์คือ อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น แรงดันโลหิตเพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม เมื่อโดพามีนไม่สามารถผ่านโครงสร้างกั้นระหว่างเลือดและสมอง (blood-brain barrier) โดพามีนที่ใช้เป็นยา จะไม่มีผลโดยตรงต่อระบบประสาทส่วนกลาง การเพิ่มปริมาณของโดพามีนในสมองของผู้ป่วยที่เป็นโรคต่างๆ เช่น พาร์คินสัน สามารถให้สารตั้งต้นแบบสังเคราะห์แก่โดพามีน เช่น L-DOPA เพื่อให้สามารถผ่านโครงสร้างกั้นระหว่างเลือดและสมองได้