ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อะคิพิม็อกซ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thomas Walt (คุย | ส่วนร่วม)
สร้างขึ้นโดยการแปลหน้า "Acipimox"
 
Thomas Walt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Drugbox
| Watchedfields = changed
| verifiedrevid = 442738806
| IUPAC_name = 5-carboxy-2-methyl-1-oxidopyrazin-1-ium
| image = Acipimox.svg
| alt = Skeletal formula
| width = 180
| image2 = Acipimox-3D-spacefill.png
| alt2 = Ball-and-stick model
<!--Clinical data-->
| tradename = Olbetam
| Drugs.com = {{drugs.com|international|acipimox}}
| pregnancy_AU = <!-- A / B1 / B2 / B3 / C / D / X -->
| pregnancy_US = <!-- A / B / C / D / X -->
| pregnancy_category =
| legal_AU = <!-- Unscheduled / S2 / S3 / S4 / S5 / S6 / S7 / S8 / S9 -->
| legal_CA = <!-- / Schedule I, II, III, IV, V, VI, VII, VIII -->
| legal_UK = POM
| legal_US = <!-- OTC / Rx-only / Schedule I, II, III, IV, V -->
| legal_status =
| routes_of_administration = การรับประทาน
<!--Pharmacokinetic data-->
| bioavailability =
| protein_bound =
| metabolism =
| elimination_half-life =
| excretion =
 
<!--Identifiers-->
| IUPHAR_ligand = 1596
| CAS_number_Ref = {{cascite|correct|??}}
| CAS_number = 51037-30-0
| ATC_prefix = C10
| ATC_suffix = AD06
| PubChem = 5310993
| DrugBank_Ref = {{drugbankcite|correct|drugbank}}
| DrugBank =
| ChemSpiderID_Ref = {{chemspidercite|correct|chemspider}}
| ChemSpiderID = 4470534
| UNII_Ref = {{fdacite|correct|FDA}}
| UNII = K9AY9IR2SD
| KEGG_Ref = {{keggcite|correct|kegg}}
| KEGG = D07190
| ChEMBL_Ref = {{ebicite|correct|EBI}}
| ChEMBL = 345714
 
<!--Chemical data-->
| C=6 | H=6 | N=2 | O=3
| smiles = [O-][n+]1c(cnc(C(=O)O)c1)C
| InChI = 1/C6H6N2O3/c1-4-2-7-5(6(9)10)3-8(4)11/h2-3H,1H3,(H,9,10)
| InChIKey = DJQOOSBJCLSSEY-UHFFFAOYAA
| StdInChI_Ref = {{stdinchicite|correct|chemspider}}
| StdInChI = 1S/C6H6N2O3/c1-4-2-7-5(6(9)10)3-8(4)11/h2-3H,1H3,(H,9,10)
| StdInChIKey_Ref = {{stdinchicite|correct|chemspider}}
| StdInChIKey = DJQOOSBJCLSSEY-UHFFFAOYSA-N
}}
'''อะคิพิม็อก (Acipimox)''' (ชื่อการค้า '''Olbetam''' ในยุโรป) เป็นยาลดระดับไขมันในกระแสเลือดกลุ่มอนุพันธ์ของไนอะซิน ([[ไนอาซิน|niacin]] derivative) มีสูตรโครงสร้างคล้ายกับไนอะซิน แต่ยาไม่ถูกเปลี่ยนแปลงในร่างกาย จึงอยู่ในกระแสเลือดได้นาน และถูกขับออกจากร่างกายได้ช้า จึงสามารถออกฤทธิ์ได้ยาวนาน การใช้ยาในขนาดต่ำจึงมีประสิทธิภาพมากพอในการรักษาและอาการไม่พึงประสงค์ที่เกิดขึ้นนั้นพบว่าเกิดขึ้นได้น้อยกว่าไนอะซิน อย่างไรก็ตาม ปัจจุบันยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัดถึงขนาดอะพิคิม็อกที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการรักษาเทียบเท่ากับไนอะซินนั้น <div>อะคิพิม็อกออกฤทธิ์ยับยั้งกระบวนการการสร้างไตรกลีเซอไรด์ของตับและลดการหลั่งไลโปโปรตีนคอเลสเตอรอลชนิดความหนาแน่นต่ำมาก (Very low-density lipoprotein cholesterol; VLDL-C) ซึ่งจะส่งผลโดยอ้อมทำให้ไลโปโปรตีนคอเลสเตอรอลชนิดความหนาแน่นต่ำ (Low-density lipoprotein cholesterol; LDL-C) ลดลงและมีการเพิ่มขึ้นของไลโปโปรตีนคอเลสเตอรอลชนิดความหนาแน่นสูง (High-density lipoprotein cholesterol; HDL-C) ได้ในที่สุด  การใช้อะคิพิม็อกในระยะยาวมีความสัมพันธ์กับการลดของของอัตราการตาย แต่อาการข้างเคียงที่เกิดจากอะคิพิม็อกซึ่งเกิดขึ้นได้บ่อยถือเป็นข้อจำกัดหนึ่งของการใช้ยานี้ในทางคลินิก ซึ่งอาการไม่พึงประสงค์เหล่านั้น ได้แก่ อาการผิวหนังแดง ร้อนวูวาบ (flushing) ซึ่งมีความสัมพันธ์กับระดับของ[[โพรสตาแกลนดิน]] (prostaglandin D2)ในร่างกาย, ใจสั่น ([[ใจสั่น|palpitation]]), และไม่สบายท้อง (gastrointestinal disturbances) โดยอาการผิวหนังร้อนแดงอาจสามารถลดความรุนแรงลงได้โดยการรับประทานแอสไพริน (aspirin) ก่อนการรับประทานอะคิพิม็อกประมาณ 20-30 นาที ทั้งนี้ การรับประทานอะคิพิม็อกในขนาดสูงอาจทำให้เกิดความผิดปกติของตับ, ระดับน้ำตาลในเลือดสูงกว่าปกติ, และทำให้เกิดอาการของ[[โรคเกาต์]]ได้</div>