ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิจจสมุปบาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ย้อนการแก้ไขของ ศูนย์หนังสือจิตต์ล้ำเลิศกุล ([[User talk:ศ...
บรรทัด 14:
* เพราะชาติเป็นปัจจัย [[ชรา]][[มรณะ]]จึงมี
* [[ความโศก]] [[ความคร่ำครวญ]] [[ทุกข์]] [[โทมนัส]] และ[[ความคับแค้นใจ]] ก็มีพร้อม ความเกิดขึ้นแห่งกองทุกข์ทั้งปวงนี้ จึงมี
 
ปฏิจสมุปบาท ในภาษาไทยปัจจุบันนั้นแปลว่า หลักสภาวะของชีวิต โดยสรุปเป็นภาษาไทยง่ายๆกล่าวถึงการลำดับสภาวะชีวิตมนุษย์ว่าเกิดขึ้นมาเป็นร่างกายตัวตนจิตใจได้อย่างไร และจะหลุดพ้นไปได้อย่างไร บุคคลผู้รู้หลักสภาวะของชีวิต หรือ ปฏิจสมุปบาท เมื่อนำไปปฏิบัติวิปัสนาหรือสมถกรรมฐาน ย่อมเป็นเครื่องเสริมปัญญานำไปสู่ทางหลุดพ้นเป็นที่สุด เนื้อหากล่าวว่า ดังนี้ :
* •เพราะ[[ความไม่แจ้งการเป็นกาย การเป็นใจ]]ดับ [[การปรุงแต่งเกิดขึ้นของความคิด ความรู้สึก]]จึงดับ
* •เพราะ[[การปรุงแต่งเกิดขึ้นของความคิด ความรู้สึก]]ดับ [[สัมผัสรับรู้สิ่งต่างๆ]]จึงดับ
* •เพรา[[ะสัมผัสรับรู้สิ่งต่างๆ]]ดับ [[ร่างกายตัวตนจิตใจ]]จึงดับ
* •เพราะ[[ร่างกายตัวตนจิตใจ]]ดับ [[ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ รูป เสียง กลิ่น รส การรู้สัมผัส อารมณ์ที่เกิดทางใจ]]จึงดับ
* •เพราะ[[ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ รูป เสียง กลิ่น รส การรู้สัมผัส อารมณ์ที่เกิดทางใจ]]ดับ [[การรับรู้ทั้งหมด]]จึงดับ
* • เพราะ[[การรับรู้ทั้งหมด]]ดับ [[สภาพของใจ]]จึงดับ
* •เพราะ[[สภาพของใจ]]ดับ [[สภาวะติดแน่นในความพึงใจและความใฝ่ที่ทำให้จิตใจยึดติดอยู่ในโลกและสรรพสิ่งของโลก]]จึงดับ
* •เพราะ[[สภาวะติดแน่นในความพึงใจและความใฝ่ที่ทำให้จิตใจยึดติดอยู่ในโลกและสรรพสิ่งของโลก]]ดับ [[ความยึดถือในสิ่งต่างๆ]]จึงดับ
* •เพราะ[[ความยึดถือในสิ่งต่างๆ]]ดับ [[ภาวะชีวิตของสัตว์หรือโลกอันเป็นที่อยู่ของสัตว์]]จึงดับ
* •เพราะ[[ภาวะชีวิตของสัตว์หรือโลกอันเป็นที่อยู่ของสัตว์]]ดับ [[ความเกิด]]จึงดับ
* •เพราะ[[ความเกิดดับ ความเสื่อม ความแปรปรวน ความสิ้น ความโศก ความคร่ำครวญ ความทุกข์ โทมนัส ความขุ่น]]จึงดับ [[กองทุกข์ทั้งมวล]]นี้มีการดับด้วยอาการอย่างนี้
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบเนื้อความนั้นแล้ว จึงทรงเปล่งอุทานนี้ในเวลานั้นว่า
เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลายปรากฏแก่ผู้แสวงหาทางหลุดพ้น
ผู้มีความเพียร เพ่งอยู่
เมื่อนั้น ผู้แสวงหาทางหลุดพ้น ย่อมกำจัดมารและเสนาเสียได้
ดุจพระอาทิตย์อุทัยขึ้นสาดส่องท้องฟ้าให้สว่างไสวฉะนั้นแล
โพธิกถา จบ. ที่มา พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาค ผู้ทรงเป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ชอบโดยพระองค์เอง พระองค์นั้น. มหาขันธกะ โพธิกถา. ผู้เรียบเรียงภาษาไทยปัจจุบัน รุ่งโรจน์(ปวโร ภิกฺขุ)
 
การเทศนาปฏิจจสมุปบาท ดังแสดงไปแล้วข้างต้น เรียกว่า อนุโลมเทศนา
เส้น 102 ⟶ 83:
* [[พุทธทาส|พุทธทาสภิกขุ]]. "[http://www.pantip.com/~buddhadasa/self/self_index.html ตัวกู-ของกู ฉบับย่อความ]".
{{จบอ้างอิง}}
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.nkgen.com/ ปฏิจสมุปบาท]
 
[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]