ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปฏิจจสมุปบาท"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
→‎แหล่งข้อมูลอื่น: อธิบายสภาวะธรรมให้สามารถเข้าใจง่ายๆด้วยภาษามนุษย์ปัจจุบัน
ป้ายระบุ: เพิ่มข้อความไม่เป็นวิกิขนาดใหญ่
บรรทัด 85:
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://www.ebooks.in.th/ebook/21246/%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%9E%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%9B%E0%B9%88%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%81_%E0%B8%88%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99/]
* [http://www.nkgen.com/ ปฏิจสมุปบาท]
 
[[หมวดหมู่:หลักธรรมของศาสนาพุทธ]]
[[หมวดหมู่:อภิธานศัพท์ศาสนาพุทธ]]
 
ปฏิจสมุปบาท ในภาษาไทยปัจจุบันนั้นแปลว่า หลักสภาวะของชีวิต โดยสรุปเป็นภาษาไทยง่ายๆกล่าวถึงการลำดับสภาวะชีวิตมนุษย์ว่าเกิดขึ้นมาได้อย่างไร และจะหลุดพ้นไปได้อย่างไร บุคคลผู้รู้หลักสภาวะของชีวิต (ปฏิจสมุปบาท) หมั่นสวดท่องให้ขึ้นใจย่อมพาตนไปสู่ทางหลุดพ้นเป็นที่สุด เนื้อหากล่าวว่า ดังนี้ :
•เพราะความไม่แจ้งการเป็นกาย การเป็นใจดับ การปรุงแต่งเกิดขึ้นของความคิด ความรู้สึกจึงดับ
•เพราะการปรุงแต่งเกิดขึ้นของความคิด ความรู้สึกดับ สัมผัสรับรู้สิ่งต่างๆจึงดับ
•เพราะสัมผัสรับรู้สิ่งต่างๆดับ ร่างกายตัวตนจิตใจจึงดับ
•เพราะร่างกายตัวตนจิตใจดับ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ รูป เสียง กลิ่น รส การรู้สัมผัส อารมณ์ที่เกิดทางใจจึงดับ
•เพราะตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ รูป เสียง กลิ่น รส การรู้สัมผัส อารมณ์ที่เกิดทางใจดับ การรับรู้ทั้งหมดจึงดับ
• เพราะการรับรู้ทั้งหมดดับ สภาพของใจจึงดับ
•เพราะสภาพของใจดับ สภาวะติดแน่นในความพึงใจและความใฝ่ที่ทำให้จิตใจยึดติดอยู่ในโลกและสรรพสิ่งของโลกจึงดับ
•เพราะสภาวะติดแน่นในความพึงใจและความใฝ่ที่ทำให้จิตใจยึดติดอยู่ในโลกและสรรพสิ่งของโลกดับ ความยึดถือในสิ่งต่างๆจึงดับ
•เพราะความยึดถือในสิ่งต่างๆดับ ภาวะชีวิตของสัตว์หรือโลกอันเป็นที่อยู่ของสัตว์จึงดับ
•เพราะภาวะชีวิตของสัตว์หรือโลกอันเป็นที่อยู่ของสัตว์ดับ ความเกิดจึงดับ
•เพราะความเกิดดับ ความเสื่อม ความแปรปรวน ความสิ้น ความโศก ความคร่ำครวญ ความทุกข์ โทมนัส ความขุ่นจึงดับ กองทุกข์ทั้งมวลนี้มีการดับด้วยอาการอย่างนี้
ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคทรงทราบเนื้อความนั้นแล้ว จึงทรงเปล่งอุทานนี้ในเวลานั้นว่า
เมื่อใดแล ธรรมทั้งหลายปรากฏแก่ผู้แสวงหาทางหลุดพ้น
ผู้มีความเพียร เพ่งอยู่
เมื่อนั้น ผู้แสวงหาทางหลุดพ้น ย่อมกำจัดมารและเสนาเสียได้
ดุจพระอาทิตย์อุทัยขึ้นสาดส่องท้องฟ้าให้สว่างไสวฉะนั้นแล
โพธิกถา จบ. ที่มา พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาค ผู้ทรงเป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ชอบโดยพระองค์เอง พระองค์นั้น. มหาขันธกะ โพธิกถา ปฏิจจสมุปบาทมนสิการ