ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ความดันโลหิตสูง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 25:
 
== อาการและอาการแสดง ==
ความดันโลหิตสูงมักไม่ค่อยจำเพาะสัมพันธ์กับอาการใดๆใด ๆ ส่วนใหญ่มักตรวจพบจากการตรวจคัดกรองโรค หรือพบโดยบังเอิญจากการเมื่อมาพบแพทย์ด้วยภาวะอื่นๆอีกปัญหาที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจำนวนหนึ่งมักบอกอาการ[[ปวดศีรษะ]]โดยเฉพาะบริเวณ[[ท้ายทอย]]ในช่วงเช้า [[เวียนศีรษะ]] [[อาการรู้สึกหมุน|รู้สึกหมุน]] [[เสียงในหู|มีเสียงหึ่งๆหึ่ง ๆ ในหู]] หน้ามืดหรือ[[หมดสติชั่วคราว|เป็นลม]]<ref name=Fisher2005>{{cite book |author=Fisher ND, Williams GH |editor=Kasper DL, Braunwald E, Fauci AS, ''et al.'' |title=Harrison's Principles of Internal Medicine|edition=16th |year=2005 |publisher=McGraw-Hill |location=New York, NY |isbn=0-07-139140-1 |pages=1463–81 |chapter=Hypertensive vascular disease}}</ref> อย่างไรก็ตามอาการดังกล่าวมักอาจสัมพันธ์กับ[[ความวิตกกังวล]]มากกว่าภาวะจากความดันโลหิตเลือดสูงเอง<ref name=Stress2012/>
 
ในการตรวจร่างกาย ผู้ป่วยที่สงสัยภาวะความดันโลหิตสูงจะตรวจพบ[[โรคที่จอตาจากความดันโลหิตสูง]] (hypertensive retinopathy) จากการตรวจตาโดยใช้[[กล้องส่องตรวจในตา]] (ophthalmoscopy) <ref name=Wong2007>{{cite journal |author=Wong T, Mitchell P |title= |journal=Lancet |volume=369 |issue=9559 |pages=425–35 |year=2007 |month=February |pmid=17276782 |doi=10.1016/S0140-6736 (07) 60198-6}}</ref> โรคที่จอตาจากความดันโลหิตสูงสามารถจำแนกออกได้เป็น 4 ระดับตามความรุนแรง การตรวจตาจะช่วยบอกว่าผู้ป่วยมีความดันโลหิตสูงมาเป็นระยะเวลานานเท่าไร<ref name=Fisher2005/>