ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Officer781 (คุย | ส่วนร่วม)
Officer781 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 81:
นักภาษาศาสตร์บางท่านจัดว่า {{IPA|/j/}} และ {{IPA|/w/}} เป็นส่วนหนึ่งของท้ายพยางค์ซึ่งมากับเสียงสระ {{IPA|/i/}} และ {{IPA|/u/}} ตามลำดับ เหมือนกับ[[ภาษาจีนกลาง]] บางท่านก็วิเคราะห์ว่า {{IPA|/ʔ/}} มาจากเสียงสระ เมื่อพยางค์นั้นไม่มีเสียงของพยัญชนะต้น
 
ในกลุ่มเสียงฐานฟันหรือปุ่มเหงือกสามารถเปลี่ยนแปรไปได้ {{IPA|/t/}} กับ {{IPA|/tʰ/}} จะอยู่ที่ฐานฟัน ในขณะที่ {{IPA|/t͡s/}}, {{IPA|/t͡sʰ/}}, {{IPA|/s/}} ซึ่งออกเสียงที่ฐานปุ่มเหงือก<!-- Need translation: and articulatory findings indicate they are not significantly palatalized by vowels.<ref>{{citationcite journal |last=WrightZee |first=SueEric |last2date=Kelly-Holmes1996 |first2title=HelenPhonological |year=1997Changes in Hong Kong Cantonese |titlejournal=OneCurrent Country,Issues TwoIn Systems,Language Threeand LanguagesSociety |publishervolume=Multilingual Matters3 |isbnissue=97818535939632 |pagepages=90192-198 |urldoi=https://books10.google.com.sg1080/books?id=uys1QNq4t-AC13520529609615469}}</ref><ref>{{cite journal |last=Lee |first=W.-S. |last2=Zee |first2=E. |date=2010 |title=Articulatory characteristics of the coronal stop, affricate, and fricative in cantonese |url=http://www.cuhk.edu.hk/journal/jcl/jcl/chin_lin/38/38_2_6.html |journal=Journal of Chinese Linguistics |volume=38 |issue=2 |pages=336-372 |doi=}}</ref> -->.
 
ผู้ที่พูดภาษากวางตุ้งมาตรฐานบางคนไม่สามารถแยกแยะความแตกต่างระหว่าง {{IPA|/n/}} กับ {{IPA|/l/}} โดยจะออกเสียงเป็น {{IPA|/l/}} และระหว่าง {{IPA|/ŋ/}} กับหน่วยเสียงว่าง ซึ่งก็จะออกเสียงแต่หน่วยเสียงว่าง