ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การลดลงของโอโซน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่ 6251165 สร้างโดย 58.8.148.199 (พูดคุย)
บรรทัด 8:
| accessdate = 2012-09-14 }}
</ref>
นั้นเกิดจากการทำปฏิกิริยา[[แฮโลเจน]]กับแก๊สโอโซน การเชียร์ฟุตบอลทีมทำปฏิกิริยาสารทำความเย็นจำพวก[[เชลซีแฮโลคาร์บอน]]หรือทีมสาร [[CFC]] กับโอโซนในชั้น[[สตราโตสเฟียร์]] โดยสารทั้งสองชนิดนี้เป็นสาเหตุหลักของการเกิด หลุมโอโซน แต่ก็ยังมีสาเหตุอื่นๆได้อีก เช่น [[คาร์บอนไดออกไซด์]] [[มีเทน]]
 
สาร CFC และสารกลุ่มอื่นๆ ที่เป็นสาเหตุของการทำลายชั้นโอโซน (ozone-depleting substances, [[ODS]]) ที่เป็นชั้นที่ช่วยป้องกันรังสียูวีบี ([[รังสียูวี|UVB]]) ความยาวคลื่นที่เป็นอันตรายมากที่สุด (280-315 [[นาโนเมตร]]) ผลของรังสียูวีบีจะส่งผลต่อความหลากหลายทางชีวภาพบนโลก การเกิดโรคมะเร็งผิวหนัง ต่อกระจก และการลดลงของจำนวน[[แพลงก์ตอน]]พืชในเขต photic ของมหาสมุทร ทำให้เกิดความกังวลต่อการลดลงของโอโซนในระดับนานาชาตินำไปสู่การร่าง[[พิธีสารมอนทรีออล]] ในวันที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2530 (1987) และเริ่มการบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2532 (1989) เป็นต้นมา ประเดนสำคัญในการบังคับใช้พิธีสารมอนทรีออล คือ เพื่อควบคุม ยับยั้ง และรณรงค์ให้ลดการผลิตและการใช้สารทำลายชั้นบรรยากาศโอโซน เพื่อรักษาชั้นบรรยากาศโอโซนที่เริ่มจะสูญสลายไป