ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 9:
| พระอิสริยยศ = รัชทายาทเจ้านครเชียงใหม่
| พระราชบิดา =
| พระบิดา = [[เจ้าแก้วนวรัฐ|พลตรี เจ้าแก้วนวรัฐ]]
| พระราชมารดา =
| พระมารดา = แม่เจ้าจามรีราชเทวีวงศ์
| มารดา =
| พระชายา = เจ้าจันทร ณ เชียงใหม่<br>เจ้าภัทรา ณ เชียงใหม่<br>คุณหญิง [[หม่อมศรีนวล ณ เชียงใหม่]]
บรรทัด 20:
| พระโอรส/ธิดา = [[เจ้าวงศ์จันทร์ คชเสนี]]<br>คุณหญิง [[เจ้าพงษ์แก้ว ณ ลำพูน]]<br>คุณหญิง [[เจ้าระวีพันธ์ สุจริตกุล]]
| บุตร/ธิดา =
| ราชวงศ์ = [[ราชวงศ์เจ้าเจ็ดตน (ทิพย์จักราธิวงศ์)จักร]]
}}
 
บรรทัด 75:
เจ้าราชบุตร ได้รับการศึกษาที่กรุงเทพมหานคร และได้รับพระราชทานการศึกษาอบรมจากราชสำนัก ตั้งแต่รัชกาลของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 เจ้าราชบุตร ก็ยังแสดงออกถึงความจงรักภักดี และมีความใกล้ชิดกับพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 จนถึงรัชกาลที่ 9<ref name=book/>
* เจ้าราชบุตร ได้ปฏิบัติหน้าที่ควบคุมกระบวนม้าและช้างไปรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว เมื่อครั้งดำรงตำแหน่งสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ในการเสด็จประพาสมณฑลฝ่ายเหนือ โดยไปรับเสด็จตั้งแต่เมืองแพร่ ถึงเมืองเชียงใหม่
* เจ้าราชบุตร เป็นแม่กองสร้างโรงช้าง ในปี พ.ศ. 2469 เพื่อประกอบพิธีสมโภชช้าง "[[พระเศวตคชเดชน์ดิลกฯดิลก]]" และเป็นผู้ทรงช้างองค์ที่ 7 ในจำนวน 13 องค์ เพื่อนำเสด็จโดยช้างพระที่นั่ง
[[ไฟล์:พระเศวตคชเดชน์ดิลก.jpg|thumb|พระเศวตคชเดชน์ดิลกฯ ที่จังหวัดเชียงใหม่]]
* เจ้าราชบุตร ได้เข้าร่วมรับเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล และพระอนุชา ในคราวเสด็จนิวัติพระนครครั้งแรก
บรรทัด 89:
เจ้าราชบุตรได้มีบทบาทสำคัญในการต้อนรับพระราชอาคันตุกะจากต่างประเทศ โดยเป็นผู้ออกทุนทรัพย์ส่วนตัว<ref name=book/> เช่น
* [[ซูการ์โน]] ประธานาธิบดีแห่งอินโดนีเซีย เมื่อวันที่ 18-19 เมษายน พ.ศ. 2504
* [[สมเด็จพระราชาธิบดีเฟรเดริคที่พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 9 แห่งเดนมาร์ก]] [[พระมหากษัตริย์เดนมาร์ก]] และ[[อิงกริดแห่งสวีเดน สมเด็จพระราชินีแห่งเดนมาร์ก|พระราชินี]] เมื่อวันที่ 17-22 มกราคม พ.ศ. 2505
* ดร.[[ไฮน์ริช ลุบเก]] [[ประธานาธิบดีเยอรมนี]] เมื่อวันที่ 24-26 พฤศจิกายน พ.ศ. 2505
* [[สมเด็จพระราชินีนาถจูเลียนาแห่งเนเธอร์แลนด์]] พร้อมด้วย[[เจ้าชายแบร์นฮาร์ดแห่งลิพเพอ-บีสเตอร์เฟลด์|พระสวามี]] เมื่อวันที่ 19-22 ตุลาคม พ.ศ. 2506
* [[สมเด็จพระราชาธิบดีโบดวงแห่งเบลเยียม]] และ[[สมเด็จพระราชินีฟาบิโอลาแห่งเบลเยียม|สมเด็จพระราชินีฟาบิโอราลา]] แห่งประเทศเบลเยี่ยม เมื่อวันที่ 7-10 กมภาพันธ์ พ.ศ. 2507
* [[สมเด็จพระราชาธิบดีตวนกู ซัยยิด ปุตรา|สมเด็จพระราชาธิบดี]] และพระราชินี แห่งมาเลเซีย เมื่อวันที่ 27-29 พฤษภาคม พ.ศ. 2507
* [[เจ้าชายอากิฮิโต]] มกุฎราชกุมาร และ[[เจ้าหญิงมิชิโกะ]] แห่งประเทศญี่ปุ่น เมื่อวันที่ 25-31 ธันวาคม พ.ศ. 2507
* [[พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี]] และ[[จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี|สมเด็จพระราชินีฟาราห์]] แห่งประเทศอิหร่าน เมื่อวันที่ 25-27 มกราคม พ.ศ. 2511
 
=== กิจกรรมสาธารณประโยชน์ ===
เจ้าราชบุตร ได้สนับสนุนกิจกรรมสาธารณประโยชน์ในด้านต่างๆ อาทิ การบริจาตสมทบมูลนิธิเพื่อการศึกษา การบริจาคทรัพย์เพื่อบำรุงศาสนา การสนับสนุนการแพทย์ สมทบทุนกิจกรรมกาชาด ฯลฯ โดยมีอนุสรณ์ที่แสดงถึงกิจกรรมสาธารณประโยชน์ของเจ้าราชบุตร ได้แก่ กุฏิวัดเจดีย์หลวงที่สร้างอุทิศถวายเจ้าแก้วนวรัฐ และแม่เจ้าจามรีมหาเทวีวงศ์ รวมถึงอาคารเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) ซึ่งเป็นตึกโคโบลท์ ของโรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่
 
== บั้นปลายชีวิต ==
เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) ถึงแก่อนิจกรรมด้วยโรคชรา เมื่อวันที่ [[25 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2515]] เวลา 12.10 น. ที่[[โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่]] สิริรวมอายุ 86 ชันษาปี หลังเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลเพียง 4 วัน โดยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯพระเจ้าอยู่หัว พระราชทานโกศไม้สิบสองเป็นเกียรติยศ ในการออกพระเมรุ อันเป็นโกศพระราชทานสำหรับเจ้าประเทศราช<ref>http://www.thainews70.com/news/news-culture-arnu/view.php?topic=208</ref>
 
=== งานพิธีพระราชทานเพลิงศพ ===
ความทราบฝ่าละอองธุลีพระบาทล้นเกล้าฯ ทั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้ทรงพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพวงมาลาไปตั้งที่ศพ ทรงพระมหากรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุเคราะห์และพระราชทานเลื่อนโกศประกอบเกียรติยศศพจากโกศแปดเหลี่ยมเป็นโกศไม้สิบสองประกอบศพ พร้อมทั้งบำเพ็ญพระราชกุศลพระราชทานในการออกเมรุ ณ คุ้มวงศ์ตวัน จังหวัดเชียงใหม่
 
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เชิญโกศศพขึ้นประดิษฐานบนราชรถ เคลื่อนกระบวนอิสริยยศ เชิญศพจากคุ้มวงศ์ตวันไปสู่วัดสวนดอก ตั้งกระบวนอิสริยยศเชิญโกศศพเวียนเมรุ แล้วเชิญโกศศพขึ้นตั้งบนจิตกาธาน ในการนี้[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ]]พระเจ้าอยู่หัว [[สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ]] พระเจ้าลูกยาเธอ และพระเจ้าลูกเธอทุกพระองค์ เสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานเพลิงศพ พลตรี เจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) ที่เมรุ[[วัดสวนดอก (พระอารามหลวง)|วัดสวนดอกวรวิหาร]] จังหวัดเชียงใหม่ เมื่อวันที่ [[13 มกราคม]] [[พ.ศ. 2516]] และได้ทรงพระกรุณาเสด็จพระราชดำเนินไปยังพลับพลาวัดสวนดอก ทรงทอดผ้าไตร พระสงฆ์บังสุกุล แล้วเสด็จขึ้นเมรุพระราชทานเพลิง<ref name=book>หนังสือประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 61 พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พลตรีเจ้าราชบุตร (วงศ์ตวัน ณ เชียงใหม่) ณ เมรุวัดสวนดอก จังหวัดเชียงใหม่</ref>
 
== สถานที่อันเนื่องมาจากพระนาม ==
บรรทัด 133:
|1= 1. '''เจ้าราชบุตร (วงษ์ตวัน ณ เชียงใหม่)'''
|2= 2. [[เจ้าแก้วนวรัฐ]]
|3= 3. [[แม่เจ้าเจ้าจามรีมหาเทวีวงศ์]]
|4= 4. [[พระเจ้าอินทวิชยานนท์]]
|5= 5. แม่เจ้าหม่อมบัวเขียว
|6= 6. เจ้าราชภาคินัย (แผ่นฟ้า ณ เชียงใหม่)
|7= 7. เจ้าเรือนคำ สิโรรส
|8= 8. เจ้า[[พระยาราชวงศ์ (มหาพรหมคำคง ณ เชียงใหม่)]]
|9= 9. แม่เจ้าคำหล้า
|10= 10. น้อยดี
บรรทัด 155:
|23= 23.
|24= 24. [[พระเจ้ากาวิละ]]
|25= 25. แม่เจ้าโนจาราชเทวี
|26= 26.
|27= 27.