ผลต่างระหว่างรุ่นของ "Solen regularis"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 16:
'''''Solen regularis''''' เป็น[[หอยทะเลกาบคู่]]ชนิดหนึ่ง รูปร่างคล้าย[[หลอด]][[กาแฟ]] ความยาว 7-8 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร เปลือกสีน้ำตาลอ่อน เนื้อสีขาวขุ่น ส่วนหัวนิ่ม ส่วนปลายเหนียว
 
หอยชนิดนี้ชอบฝังตัวตามแนวดิ่งในตะกอนดินโคลนปนทรายปนโคลนบริเวณปากแม่น้ำ ในต่างประเทศพบที่ชาวบ้านเรียกว่า[[อินโดนีเซีย]]และ[[ออสเตรเลีย]]<ref>[http://www.marinespecies.org/aphia.php?p=taxdetails&id=413505 "ทรายขี้เป็ด"''Solen regularis'' Dunker, 1862 {{en}}]</ref> ส่วนใน[[ไทย]]จะพบหอยชนิดนี้แพร่กระจายอย่างหนาแน่นตามจังหวัดบริเวณชายฝั่ง[[อ่าวไทย]] เช่น [[จังหวัดสมุทรปราการตราด]] [[สมุทรสาครสมุทรปราการ]] [[สมุทรสงคราม]] [[เพชรบุรี]] โดยเป็นต้น หอยในสกุล ''[[Solen (genus)|Solen]]'' ที่พบร่วมกับหอยชนิดอื่นในสกุลเดียวกัน เช่นนี้ได้แก่ ''[[Solen corneus|S. corneus]]'', ''[[Solen strictus|S. strictus]]'', และ ''[[Solen thailandicus|S. thailandicus]]'' เป็นต้น ส่วนในต่างประเทศพบที่[[อินโดนีเซีย]]และ[[ออสเตรเลีย]]<ref>[http://www.marinespecies.org/aphia.php?p=taxdetails&id=413505 ''Solen regularis'' Dunker, 1862 {{en}}]</ref> ชื่อสามัญของหอยชนิดต่าง ๆ เหล่านี้คือมีชื่อสามัญร่วมกันเป็นภาษาไทยว่า "[[หอยหลอด]]"
 
ปัจจุบัน กรมประมงสามารถเพาะขยายพันธุ์หอยชนิด ''S. regularis'' เป็นหอยหลอดชนิดหนึ่งที่พบมากและมีคุณค่าทางเศรษฐกิจสูงในไทย เมื่อปี พ.ศ. 2544 สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่งจังหวัดสมุทรสงครามของ[[กรมประมง]]สามารถเพาะขยายพันธุ์หอยชนิดนี้ได้แล้วสำเร็จในที่เลี้ยง แต่ยังต้องพัฒนาการอนุบาลลูกหอยวัยอ่อนต่อไป เพราะหอยจะฝังตัวอยู่ใต้ทราย จึงยากแก่การจัดการ<ref>วรรณเพ็ญ, ฤทธิกร และนพดล. 2545. การทดลองเพาะพันธุ์หอยหลอด ''Solen regularis'' Dunlcer, 1861. เอกสารวิชาการฉบับที่ 19/2545 สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง </ref>
 
==อ้างอิง==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/Solen_regularis"