ผลต่างระหว่างรุ่นของ "หอยหลอด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''หอยหลอด''' ({{lang-en|razor clam, razor shell}}) เป็นชื่อสามัญของหอยทะเลกาบคู่หลายชนิดในวงศ์ [[Solenidae]] เปลือกประกบกันเป็นรูปทรงกระบอก มีช่องเปิดทั้งด้านหน้าและด้านท้าย มีสีเขียว เขียวอมเหลือง น้ำตาลอมเหลือง ฝังตัวอยู่ใต้พื้นที่เป็นโคลน เช่น ชนิด ''[[Solen strictus]]'' เป็นต้น
{{Taxobox
| color = pink
| image = Solen regularis.jpg
| name = หอยหลอด
| regnum = [[Animal]]ia
| phylum = [[Mollusca]]
| classis = [[Bivalvia]]
| ordo = [[Veneroida]]
| familia = [[Solenidae]]
| genus = ''[[Solen (genus)|Solen]]''
| species = '''''S. regularis'''''
| binomial = ''Solen regularis''
| binomial_authority = [[Wilhelm Rudolph Bernard Hadrian Dunker|Dunker]], 1861
}}
 
'''หอยหลอด''' ({{lang-en|Razor clam}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Solen regularis}}) เป็น[[หอยทะเลกาบคู่]] รูปร่างคล้าย[[หลอด]][[กาแฟ]] ความยาว 7-8 เซนติเมตร เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1 เซนติเมตร เปลือกสีน้ำตาลอ่อน เนื้อสีขาวขุ่น ส่วนหัวนิ่ม ส่วนปลายเหนียว ชอบฝังตัวตามแนวดิ่งในตะกอนดินโคลนปนทรายบริเวณปากแม่น้ำที่ชาวบ้านเรียกว่าทรายขี้เป็ด บริเวณที่มีหอยหลอดเป็นจำนวนมากใน[[ประเทศไทย]]คือ [[ดอนหอยหลอด]] [[จังหวัดสมุทรสงคราม]] นอกจากที่ดอนหอยหลอดแล้ว ยังอาศัยอยู่ที่ [[จังหวัดเพชรบุรี]], [[จังหวัดสมุทรปราการ]], [[จังหวัดตราด]], [[จังหวัดสตูล]] เป็นต้น<ref>{{cite web|url=http://news.ch7.com/detail/103478/%E0%B9%81%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%81%E0%B9%87%E0%B8%9A%E0%B8%AB%E0%B8%AD%E0%B8%A2%E0%B8%AB%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B8%9B%E0%B8%B5_%E0%B8%88.%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%B9%E0%B8%A5.html|title=แข่งขันเก็บหอยหลอดประจำปี จ.สตูล|date=8 January 2015|accessdate=10 January 2015|publisher=ช่อง 7}}</ref> รวมไปถึง[[ประเทศอินโดนีเซีย]]และ[[ออสเตรเลีย]]<ref>[http://www.marinespecies.org/aphia.php?p=taxdetails&id=413505 ''Solen regularis'' Dunker, 1862 {{en}}]</ref>
 
การจับหอยหลอดจะใช้ปูนขาวหยอดลงในรู ทำให้หอยโผล่ขึ้นมาให้จับได้ง่าย ช่วงที่เหมาะสำหรับการจับมากที่สุดคือเดือนมกราคม-พฤษภาคม เพราะตอนกลางวันน้ำจะลดลงมาก ทำให้[[สันดอน]]โผล่พ้นน้ำ เนื้อหอยหลอดนำมาประกอบอาหารได้หลายประเภท ทั้งทอดกรอบ ต้มยำ และผัดฉ่า<ref>[http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9480000080662 จับจาก“รู” มาสู่เมนูจานเด็ด ชีวิตกลางแจ้งของ“คนหาหอยหลอด” จากผู้จัดการออนไลน์]</ref>
 
== อ้างอิง ==
ปัจจุบัน หอยหลอดสามารถเพาะขยายพันธุ์ได้แล้วในที่เลี้ยง แต่ยังต้องพัฒนาการอนุบาลลูกหอยวัยอ่อนต่อไป เพราะหอยหลอดจะฝังตัวอยู่ใต้ทราย ซึ่งยากแก่การจัดการ<ref>วรรณเพ็ญ, ฤทธิกร และนพดล. 2545. การทดลองเพาะพันธุ์หอยหลอด ''Solen regularis'' Dunlcer, 1861. เอกสารวิชาการฉบับที่ 19/2545 สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง </ref>
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:หอยฝาคู่|หลอด]]
[[หมวดหมู่:หอยเศรษฐกิจ|หลอด]]
[[หมวดหมู่:ปศุสัตว์]]