ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กระจุกดาวรวงผึ้ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 24:
อายุและ[[การเคลื่อนที่เฉพาะ]]ของกระจุกดาวนี้มีลักษณะสอดคล้องกันกับ[[กระจุกดาวสามเหลี่ยมหน้าวัว]] มีแนวโน้มได้ว่ากระจุกดาวทั้งสองอาจมีกำเนิดมาจากต้นกำเนิดเดียวกัน<ref name="Klein-Wassink1927">Klein-Wassink WJ. (1927) The proper motion and the distance of the Praesepe cluster. Publications of the Kapteyn Astronomical Laboratory Groningen, 41: 1-48.</ref><ref name="Dobbie2006">Dobbie PD, Napiwotzki R, Burleigh MR, et al. (2006) New Praesepe white dwarfs and the initial mass-final mass relation. Monthly Notices of the Royal Astronomical Society, 369: 383-389.</ref> กระจุกดาวทั้งสองแห่งยังมี[[ดาวยักษ์แดง]]และ[[ดาวแคระขาว]] ซึ่งเป็นดาวฤกษ์ในระยะท้ายๆ ใน[[วิวัฒนาการของดาวฤกษ์]] ขณะเดียวกันก็มีดาวฤกษ์อื่นที่ยังอยู่ใน[[แถบลำดับหลัก]]ซึ่งมีค่า[[การจัดประเภทของดาวฤกษ์|สเปกตรัม]]เป็นประเภท A, F, G, K, และ M
 
กระจุกดาวรวงผึ้งในทัศนะทาง[[ดาราศาสตร์แบบจีน]]เรียกว่า "จิชิกิ" ({{lang-zh|积尸气積屍氣}}; แปลว่า "เมฆหมอกของกองซากศพ") มีความเชื่อว่าเป็นสถานที่ ๆ เหล่าวิญญาณของคนตายบนโลกวนเวียนทับถมอยู่ที่นี่<ref>{{zh icon}} [http://aeea.nmns.edu.tw/2006/0605/ap060527.html AEEA (Activities of Exhibition and Education in Astronomy) 天文教育資訊網 2006 年 5 月 27 日]</ref>
 
== อ้างอิง ==