ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขด้วยแอปสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขของ 1.47.72.22 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย OctraBot
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Babelsberg_Einsteinturm.jpg|thumb|260px |หอไอน์สไตน์ซึ่งเป็นสถาปัตยกรรมแนวสำแดงพลังอารมณ์ที่พอทสดัมในเยอรมนี]]
bereaved'''ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์''' weersvidหรือ '''เอกซเพรสชันนิซึม'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php "''ศัพท์บัญญัติราชบัณฑิตยสถาน''"]</ref> ({{lang-en|expressionism}}) คือ[[cultural movement|ขบวนการทางวัฒนธรรม]]ที่เริ่มขึ้นในเยอรมนีเมื่อต้นคริสต์ศตวรรษที่ 20 ที่เป็นปฏิกิริยาต่อ[[positivism|ปฏิฐานนิยม]] (positivism) และขบวนการศิลปะอื่น ๆ เช่น [[Naturalism|ธรรมชาตินิยม]] (naturalism) และ[[ลัทธิประทับใจ]] (impressionism)<ref><cite id="garzanti">{{cite book |title=Enciclopedia Garzanti della letteratura |last=Garzanti |first=Aldo |year=1974 |origyear=1972 |publisher=Guido Villa |location=Milan |isbn= |pages=963 |language=Italian}}</cite> page 241</ref> วัตถุประสงค์ของขบวนการนี้ก็เพื่อการแสวงหาความหมายของ "ความรู้สึกมีชีวิตชีวา" (being alive)<ref name="VT">Victorino Tejera, 1966, pages 85,140, Art and Human Intelligence, Vision Press Limited, London</ref> และประสบการณ์ทางอารมณ์แทนความเป็นจริงทางวัตถุ<ref name="VT"/><ref>The Oxford Illustratd Dictionary, 1976 edition, page 294</ref> แนวโน้มของศิลปินกลุ่มนี้จะบิดเบือนความเป็นจริงเพื่อที่จะแสดงผลที่มีต่อ[[อารมณ์]] และเป็นศิลปะอัตวิสัย (subjective art form) ลัทธิสำแดงพลังอารมณ์ปรากฏในงานศิลปะหลายรูปหลายแบบซึ่งได้แก่ [[จิตรกรรม]] [[วรรณกรรม]] [[Expressionism (theatre)|การละคร]] [[ภาพยนตร์]] [[Expressionist architecture|สถาปัตยกรรม]] และ[[Expressionism (music)|การดนตรี]] และมักจะเป็นคำที่มีนัยยะถึงอารมณ์รุนแรงภายใน (angst) โดยทั่วไปแล้วจิตรกรเช่น [[มัททีอัส กรือเนวัลด์]] และ[[เอลเกรโก]] ก็อาจจะเรียกได้ว่าเป็นจิตรกรแนวสำแดงพลังอารมณ์ แม้ว่าจะเป็นคำที่มักจะใช้กับงานศิลปะของคริสต์ศตวรรษที่ 20 ก็ตาม
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
== ดูเพิ่ม ==
Tradition''] (Newport Beach, California 1980//0807147312
* Antonín Matějček cited in Gordon, Donald E. (1987). ''Expressionism: Art and Ideas'', p.&nbsp;175. New Haven: Yale University Press.
* Jonah F. Mitchell (Berlin, 2003). Doctoral thesis ''Expressionism between Western modernism and Teutonic Sonderweg.'' Courtesy of the author.
* [[Friedrich Nietzsche]] (1872). ''The Birth of Tragedy Out of The Spirit of Music.'' Trans. Clifton P. Fadiman. New York: Dover, 1995. ISBN 0-486-28515-4.
* Judith Bookbinder, [http://www.worldcatlibraries.org/oclc/57652272&referer=brief_results ''Boston modern: figurative expressionism as alternative modernism,''] (Durham, N.H. : University of New Hampshire Press; Hanover: University Press of New England, ©2005.) ISBN 1-58465-488-0 9781584654889
* Bram Dijkstra, [http://www.worldcatlibraries.org/oclc/50866889&referer=brief_results ''American expressionism: art and social change, 1920-1950,''] (New York : H.N. Abrams, in association with the Columbus Museum of Art, 2003.) ISBN 0-8109-4231-3 9780810942318
* Ditmar Elger ''Expressionism-A Revolution in German Art'' ISBN 978-3-8228-3194-6
* Paul Schimmel and Judith E Stein, [http://www.worldcatlibraries.org/oclc/59997649&referer=brief_results ''The Figurative fifties : New York figurative expressionism, The Other Tradition''] (Newport Beach, California : Newport Harbor Art Museum : New York : Rizzoli, 1988.) ISBN 0-8478-0942-0 9780847809424 0917493125 9780917493126
* Marika Herskovic, [http://www.worldcat.org/search?qt=worldcat_org_bks&q=9780967799421&fq=dt%3Abks ''American Abstract and Figurative Expressionism: Style Is Timely Art Is Timeless''] (New York School Press, 2009.) ISBN 978-0-9677994-2-1.