ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ลูกโป่ง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
Pestopestopesto (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มข้อมูลที่ทุกคนควรรู้ก่อนใช้งานลูกโป่ง
บรรทัด 4:
 
ผู้ประดิษฐ์ลูกโป่งยางได้คนแรกคือ [[ไมเคิล ฟาราเดย์]] ใน ค.ศ. 1824 จากการทดลองด้วยแก๊สหลากหลายชนิด<ref>{{cite book|author=Swain, Heather |title=Make These Toys: 101 Clever Creations Using Everyday Items|url=http://books.google.com/books?id=IKPb1wtWg74C&pg=PT15|date=2010|publisher=Penguin Publishing Group|isbn=978-1-101-18873-6|pages=15–}}</ref>
 
 
=== แก๊สในลูกโป่ง และความปลอดภัย ===
ลูกโป่งที่ขายในประเทศไทยโดยทั่วไป พบบรรจุแก๊สอยู่ 2 ชนิด คือ [[ไฮโดรเจน]] และ [[ฮีเลียม]] ความแตกต่างของแก๊ส 2 ชนิดนี้ คือ แก๊สไฮโดรเจนมีความไวไฟสูง ติดไฟง่าย ส่วนแก๊สฮีเลียมเป็นแก๊สเฉื่อย ไม่ติดไฟ ดังนั้น หากจะใช้งานลูกโป่งในสถานที่ซึ่งมีแสงไฟมาก ตัวอย่างเช่น การจัดตกแต่งงานเลี้ยง งานฉลองต่างๆ ก็ควรเลือกใช้ลูกโป่งบรรจุแก๊สฮีเลียม หรือที่เรียกกันโดยทั่วไปว่า ลูกโป่งฮีเลียม เพราะหากลูกโป่งบรรจุแก๊สไฮโดรเจนอยู่ใกล้ไฟหรือความร้อน ก็จะติดไฟหรือสามารถเกิดระเบิดในกรณีที่มีลูกโป่งจำนวนมากได้ และอาจจะเป็นอันตรายถึงชีวิต<ref>[www.loveyouflower.com/ช่อลูกโป่งงานแต่ง/]</ref>
 
=== ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ===
หลังจากใช้งานลูกโป่งเสร็จแล้ว ควรปล่อยลมลูกโป่ง แล้วนำไปทิ้งให้ถูกที่ เพราะการปล่อยลูกโป่งลอยขึ้นฟ้าก่อให้เกิดปัญหาอย่างมากต่อสิ่งแวดล้อม ปัญหาของการปล่อยลูกโป่งที่มีคนพบได้แก่ ซากลูกโป่งจำนวนมากมาเกยตื้นบนชายหาด, เชือกลูกโป่งไปพันติดกับตัวนก หรือสัตว์บางชนิดเข้าใจว่าซากลูกโป่งเป็นอาหารจึงกินเข้าไป สัตว์ที่ได้รับผลกระทบเหล่านี้ มีทั้งที่ได้รับการช่วยเหลือ และพบเมื่อเสียชีวิตแล้ว<ref>[http://balloonsblow.org/]</ref>
 
 
== ดูเพิ่ม ==