ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไจโรสโกป"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
JBot (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขที่อาจเป็นการทดลอง หรือก่อกวนด้วยบอต ไม่ควรย้อน? แจ้งที่นี่
บรรทัด 6:
 
== ประวัติ ==
เมื่อ ค.ศ. 1852 [[นักวิทยาศาสตร์]]ชาว[[ชาวฝรั่งเศส|ฝรั่วยยยยหกดหฟกวศษฉวผสาิผหกดมศ?ฆฉฝสผ่แฝรั่งเศส]] มทฟหกะไนชื่อ''' ลาปลาส''' (Pierre-Simon Laplace) ได้ประดิษฐ์และตั้งชื่อ '''ไจโรสโคป''' (gyroscope) ขึ้นเพื่อใช้เรียกล้อ ที่ติดตั้งในวงแหวนหมุนได้ นั่นคือชุดวงแหวนที่ยอมให้ล้อหมุนโดยอิสระในทิศทางใดๆ ก็ได้ และในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1850 ฟูโกลต์ได้ทำการทดลองอย่างหนึ่ง โดยใช้[[โรเตอร์]] และแสดงว่าล้อที่หมุนอยู่นั้นยังคงทิศทางเดิมของมันในอากาศ โดยไม่ขึ้นกับการหมุนของโลก
 
ความสามารถในการรักษาทิศทางของไจโรสโคปนี้ บ่งชี้ถึงประโยชน์ของมันในฐานะเป็นเครื่องบอกทิศทางได้ แต่การใช้ไจโรสโคปเป็นเข็มทิศนั้น เพิ่งจะปรากฏเป็นผลงานที่ใช้การได้ก็เมื่อปี [[ค.ศ. 1910]] โดยการติดตั้งไว้บนเรือรบของ[[เยอรมนี]] และในปี [[ค.ศ. 1911]] '''เอลเมอร์ เอ. สเปอร์รี''' (Elmer A. Sperry) ก็ได้ทำการตลาดขายเข็มทิศไจโรสโคป หรือ '''ไจโรคอมแพสส์''' (Gyrocompass) ใน[[สหรัฐอเมริกา]] และผลิตสำหรับการขายใน[[อังกฤษ]]หลังจากนั้นไม่นานนัก