ผลต่างระหว่างรุ่นของ "คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
BunBn (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
== ประวัติ ==
 
คณะวิทยาศาสตร์ เป็นหนึ่งในสี่คณะแรกเริ่มที่ก่อตั้งขึ้นพร้อมกับการสถาปนา[[จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ในชื่อ"คณะอักษรศาสตร์และวิทยาศาสตร์" มีวัตถุประสงค์ในการก่อตั้งเพื่อสอนวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ให้กับนิสิต[[คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะแพทยศาสตร์]] และ[[คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะวิศวกรรมศาสตร์]] เพื่อนำไปประยุกต์ในการศึกษาขั้นสูงต่อไป นอกจากนี้ยังมีแผนกฝึกหัดครู (ต่อมาเป็น[[ให้กับนิสิตคณะครุศาสตร์แพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย|คณะครุศาสตร์]]) ที่เป็นแหล่งผลิตครูวิทยาศาสตร์ เพื่อสอนวิชาวิทยาศาสตร์ซึ่งในระดับมัธยมศึกษาอีกด้วย แต่เนื่องจากสมัยขณะนั้น อาจารย์ที่สอนวิทยาศาสตร์ คือคณะแพทยศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย แพทย์สามัญ ซึ่งไม่สามารถสอนวิทยาศาสตร์ได้ ทำให้นิสิตที่จบการศึกษาต่อมามีความรู้ค่อนข้างจำกัด อีกทั้งการเรียนการสอนยังมีอุปสรรคเปลี่ยนชื่อเป็น เช่นคณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาล นิสิตไม่มีความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษ จึงไม่สามารถนำตำราต่างประเทศมาใช้ในการสอนได้
 
วันที่ [[7 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2486]] คณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาลย้ายไปสังกัดมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยก็ยังคงทำหน้าที่สอนวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เช่นเดิมจนกระทั่ง วันที่ [[21 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2512]] พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้พระราชทานนามใหม่แก่มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ว่า “ [[มหาวิทยาลัยมหิดล]] ” และพระราชทานนามใหม่ให้กับคณะแพทยศาสตร์และศิริราชพยาบาลว่า "[[คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล]]" หน้าที่การสอนวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ให้กับคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลจึงยุติลง แต่ในเวลานั้น[[คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]ได้ถือกำเนิดขึ้นแล้ว หน้าที่สอนวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ให้กับคณะแพทยศาสตร์จึงดำเนินต่อไป
 
นอกจากนี้คณะวิทยาศาสตร์ ยังสอนวิชาพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ให้กับ[[คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] และยังมีแผนกฝึกหัดครู (ต่อมาเป็น[[คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]]) ที่เป็นแหล่งผลิตครูวิทยาศาสตร์ เพื่อสอนวิชาวิทยาศาสตร์ในระดับมัธยมศึกษาอีกด้วย แต่เนื่องจากสมัยนั้น อาจารย์ที่สอนวิทยาศาสตร์ คือ แพทย์สามัญ ซึ่งไม่สามารถสอนวิทยาศาสตร์ได้ ทำให้นิสิตที่จบการศึกษามีความรู้ค่อนข้างจำกัด อีกทั้งการเรียนการสอนยังมีอุปสรรค เช่น นิสิตไม่มีความรู้ทางด้านภาษาอังกฤษ จึงไม่สามารถนำตำราต่างประเทศมาใช้ในการสอนได้
 
[[ไฟล์:ตึกขาว จุฬาฯ.jpg|thumb|left|300px|ตึกขาว ปัจจุบันคือตึกชีววิทยา 1]]