ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ไอโซโทป"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Awksauce (คุย | ส่วนร่วม)
JBOT ย้อนไม่ทั่วถึงจริงๆเลย ไม่มีอะไรดีเกินกว่าSaveทับรุ่นก่อกวนแล้ว
Roonie.02 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:Protium deuterium tritium.jpg|thumb|300px|ภาพแสดง[[ไอโซโทปของไฮโดรเจน]]ที่เกิดในธรรมชาติทั้งสามตัว ความจริงที่ว่าแต่ละไอโซโทปมีโปรตอนเพียงหนึ่งตัว ทำให้พวกมันทั้งหมดเป็นไฮโดรเจนที่แตกต่างกัน นั่นคือ ตัวตนของไอโซโทปถูกกำหนดโดยจำนวนของนิวตรอน จากซ้ายไปขวา ไอโซโทปเป็นโปรเทียม (<sup>1</sup>H) ที่มีนิวตรอนเท่ากับศูนย์, [[ดิวเทอเรียม]] (<sup>2</sup>H) ที่มีนิวตรอนหนึ่งตัว, และ [[ทริเทียม]] (<sup>3</sup>H) ที่มีสองนิวตรอน]]
'''ไอโซโทป''' ({{lang-en|isotope}}) เป็นความแตกต่างขององค์ประกอบทางเคมีที่เฉพาะเจาะจงของธาตุนั้นซึ่งจะแตกต่างกันในจำนวนของนิวตรอน นั่นคือ[[อะตอม]]ต่าง ๆ ทั้งหลายของ[[ธาตุเคมี|ธาตุ]]ชนิดเดียวกัน ที่จะมีจำนวน[[โปรตอน]]หรือ[[เลขอะตอม]]เท่ากัน แต่มีจำนวน[[นิวตรอน]]ต่างกัน ส่งผลให้[[เลขมวล]](โปรตอน+นิวตรอน)ต่างกันด้วย และเรียกเป็นไอโซโทปของธาตุนั้น ๆ.
ไอโซโทปของธาตุต่าง ๆ จะมีสมบัติทาง[[เคมีฟิสิกส์]]เหมือนกัน ยกเว้นสมบัติทาง[[นิวเคลียร์]]ที่เกี่ยวกับ[[มวลอะตอม]] เช่น [[ยูเรเนียม]] มี 2 ไอโซโทป คือ [[ยูเรเนียม-235]] เป็นไอโซโทปที่แผ่รังสี และ[[ยูเรเนียม-238]] เป็นไอโซโทปที่ไม่แผ่รังสี
 
ไอโซโทปของธาตุต่าง ๆ จะมีสมบัติคุณสมบัติทาง[[เคมีฟิสิกส์]]เหมือนกัน ยกเว้นสมบัติทางของ[[นิวเคลียร์นิวเคลียส]]ที่เกี่ยวกับ[[มวลอะตอม]]ไม่เหมือนกัน เช่น [[ยูเรเนียม]] มี 2 ไอโซโทป คือ [[ยูเรเนียม-235]] เป็นไอโซโทปที่แผ่รังสี และ[[ยูเรเนียม-238]] เป็นไอโซโทปที่ไม่แผ่รังสี
 
== ดูเพิ่ม ==