16,999
การแก้ไข
พุทธามาตย์ (คุย | ส่วนร่วม) (ลบลิงก์เสีย) |
|||
| ตำแหน่ง = เจ้าอาวาส[[วัดเจดีย์หลวง]] ([[จังหวัดเชียงใหม่]]) <br />พระครูวินัยธร <small>[[ฐานานุกรม]]ของ[[พระอุบาลีคุณูปมาจารย์ (จันทร์ สิริจนฺโท)]]</small>
}}
'''หลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต'''<ref>[http://www.luangpumun.org/ หลวงปู่มั่น]. เว็บไซต์ญาติธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตตะเถระ. เรียกข้อมูลเมื่อ 11-6-52</ref><ref>[http://www.watpa.com/ หลวงปู่มั่น]. เว็บไซต์วัดป่ากรรมฐาน สายหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต. เรียกข้อมูลเมื่อ 11-6-52</ref> หรือชื่อที่บันทึกในทางฐานานุกรมว่า '''[[ฐานานุกรม|พระครูวินัยธร]]
== ภูมิหลัง ==
ชื่อเดิมคือ "มั่น แก่นแก้ว" ท่านเกิดเมื่อวันที่ 20 มกราคม 2413 ปีมะแม ที่บ้านคำบง ตำบลสงยาง [[อำเภอโขงเจียม]] (ปัจจุบันคือ [[อำเภอศรีเมืองใหม่]]) จังหวัด[[อุบลราชธานี]] เป็นบุตรของนายคำด้วง และนางจันทร์ แก่นแก้ว และได้[[อุปสมบท]]ใน[[ธรรมยุติกนิกาย]]เมื่ออายุ 23 ปี ในปี [[พ.ศ. 2436]] ณ วัดเลียบ อ.เมือง
ก่อนหน้านี้หลวงปู่มั่นได้เข้า[[บรรพชา]]เป็น[[สามเณร]] เมื่ออายุได้ 15 ปี ณ วัดบ้านคำบง เมื่อบวชได้ 2 ปี บิดาขอร้องให้ลาสิกขาเพื่อช่วยการงานทางบ้าน จิตท่านยังหวนคิดถึงร่มผ้ากาสาวพัสตร์อยู่เนืองนิจ เพราะติดใจในคำสั่งของยายว่า "เจ้าต้องบวชให้ยาย เพราะยายก็ได้เลี้ยงเจ้ายากนัก" ต่อมาหลวงปู่เสาร์ได้เดินธุดงค์มาปักกลดอยู่ที่บ้านคำบง นายมั่น จึงเข้าถวายการรับใช้และมีจิตศรัทธาในข้อวัตรปฏิบัติของหลวงปู่เสาร์ ต่อมาได้เป็นศิษย์ติดตามเข้าเมืองอุบล ครั้นอายุได้ 23 ปีจึงได้เข้าพิธีอุปสมบทเป็นพระ[[
== ชีวิตสมณะ การแสวงหาธรรม และปฏิปทา ==
[[ไฟล์:Chmaiwchluangvihajman0406a.jpg|thumb|left|วิหารสร้างอุทิศถวายหลวงปู่มั่น ภูริทตฺโต ที่[[วัดเจดีย์หลวง]] [[อำเภอเมืองเชียงใหม่]] [[จังหวัดเชียงใหม่]]]]
ประมาณปี 2450 - 2453 ท่านได้จาริกไปทาง
ขณะที่พักที่ถ้ำสาริกาแห่งนี้ในระยะเดือนแรกๆ ท่านรู้สึกปรกติดี จิตใจสงบ ไม่มีอะไรพลุกพล่าน พอดีคืนต่อๆมา ท่านรู้สึกว่าโรคเจ็บท้องที่เคยเป็นประจำชักกำเริบ และมีอาการรุนแรงขึ้นตามลำดับ แต่ด้วยอาศัยด้วยเหตุว่าท่านได้บำเพ็ญบารมี (กำลังใจในการปฏิบัติที่สั่งสม) ไว้มากในพระบวรพุทธศาสนา ท่านจึงตัดสินใจออกไปนั่งสมาธิ พิจารณาธรรม แยกธาตุขันธ์ เจริญอสุภะกรรมฐาน จนกระทั่งจิตเกิดความอัศจรรย์ สามวันสามคืน แม้กระทั่งเม็ดทราย พอจิตของท่านอิ่มตัวจากการประพฤติปฏิบัติ ได้เกิดนิมิตลูกสุนัขปรี่เข้าไปดูดนมแม่สุนัข ท่านจึงได้เกิดความสงสัยว่า "ในการพิจารณาขั้นนี้ที่จิตรวมในการพิจารณาแล้ว ไม่น่าจะมีนิมิตแล้ว" เพราะนิมิตจะเกิดจากการปฏิบัติสมาธิที่ยังไม่เป็นวสี (ยังไม่ชำนิชำนาญ) เมื่อท่านเกิดความสงสัย จึงได้พิจารณาจนได้ความว่า ลูกสุนัขที่ได้กระทำการดูดนมแม่หาใช่ใครที่ไหน แต่เป็นตัวท่านเองที่เสวยอัตภาพมาตลอด 500 ชาตินั้นเองจึงได้เกิดความสลดสังเวชใจ จึงนำสิ่งที่ได้พบได้เห็นมาพิจารณาธรรมในข้อที่ว่า "กายะ ทุกขัง อริยสัจจัง"คือว่าพิจารณาว่ากายเป็นทุกข์ ไม่ทำให้เกิดความสุขให้เรา แต่ต่อมาท่าเกิดความรู้สึกกังวล จึงใช้ญาณตรวจดูเกิดพบว่าท่านเคยปรารถนาพุทธภูมิ (ปรารถนาจะเป็นพระพุทธเจ้า) จึงค้นลงไปอีกว่าปรารถนาตอนไหน
ต่อมาท่านขึ้นไปที่ภาคเหนือจำพรรษาที่[[วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร]] 1 พรรษาได้รับตำแหน่งเป็นเจ้าอาวาสวัดเจดีย์หลวง เป็นพระครูวินัยธร และพระอุปัชฌาย์ ท่านได้เป็นพระอุปัชฌาย์ให้หลวงตาปลัดเกตุ เพียงองค์เดียวเท่านั้น ขณะนั้นท่านจึงจำใจรับตำแหน่ง เพราะเห็นแก่ท่านเจ้าคุณอุบาลีผู้นิมนต์ ขณะที่กำลังอาพาธเป็นโรคมะเร็งที่กระดูกตรงขา แต่ต่อมาท่านจึงล้มเลิกความตั้งใจที่จะเป็นเจ้าอาวาส โดยท่านรำพึงในใจว่า"หากเรายังรับตำแหน่งอยู่ต่อไป ลาภสักการะอาจจะฆ่าการปฏิบัติของเรา อันเป็นเหตุแห่งการฆ่าการประพฤติปฏิบัติก็เป็นได้" ท่านจึงได้สละตำแหน่ง หนีธุดงค์เข้าป่า อาศัยอยู่ตาม[[ดอยมูเซอ]] [[ถ้ำเชียงดาว]] [[ถ้ำพวง]] ฯลฯ แล้วออกไปพำนักตามที่วิเวกต่างๆ ในเขตภาคเหนือหลายแห่ง เพื่อสงเคราะห์สาธุชนในที่นั้นๆ นานถึง11ปี และสงเคราะห์อดีตคู่บำเพ็ญบุญในอดีตชาติของท่านชื่อแม่บุญปัน ที่บ้านแม่กอย ต.กลางเวียง อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ ปัจจุบันวัดป่าแม่กอย ชื่อวัดป่าพระอาจารย์มั่น
ในปี พ.ศ. 2478 ท่านบรรลุธรรมชั้นสูงสุดที่ ถ้ำดอกคำ ต.น้ำแพร่ อ.พร้าว จ.เชียงใหม่ จากนั้นท่านได้ธุดงค์ไปยังดอยนะโม ใกล้ดอยแม่ปั๋ง ท่านได้พูดกับลูกศิษย์คือ [[หลวงปู่ขาว อนาลโย]] ว่า "ผมหมดงานที่จะทำแล้ว ก็อยู่สานกระบุงตะกร้า พอช่วยเหลือพวกท่านและลูกศิษย์ลูกหาได้บ้างเท่านั้น"ท่านได้อบรมสั่งสอนลูกศิษย์ให้บรรลุธรรมสูงสุดเป็นจำนวนมาก ต่อมา
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ท่านเป็นพระบิดาพระกรรมฐานแห่งยุค ตำนานชีวิตของท่านถูกกล่าวขานกันไม่รู้จบ เป็นที่ประจักษ์แก่ศิษผู้ไกล้ชิดถึงญาณความรู้ของหลวงปู่มั่นกว้างขวางแม่นยำทุกด้านหาผู้เสมอเหมือนได้ยากยิ่ง ท่านสำเร็จ[[ปฏิสัมภิทานุศาสน์]] 4 อย่าง คือ
# ปฏิภาณปฏิสัมภิทา - แตกฉานในปฏิภาณ
โดยปฏิปทาที่ท่านยึดมั่นมาตลอดชีวิตนั้น คือ[[
# ปังสุกุลิกังคธุดงค์ - ถือนุ่งห่มผ้าบังสุกุล
3.ถ้าจิตมีความสงบถึงฐานของสมาธิแล้ว อย่าไปบังคับให้ถอนนะ ปล่อยให้อยู่ในความสงบนั้นไป จนจิตได้มีความอิ่มตัวในสมาธินั้น ๆ ได้เวลาแล้วจิตก็จะถอนออกมาเอง เมื่อจิตถอนออกจากสมาธิแล้ว ก็ให้ใช้ปัญญาพิจารณาต่อไป
3. ธรรมชาติของจิตเป็นของผ่องใสยิ่งกว่าอะไรทั้งหมด แต่อาศัยของปลอม กล่าวคือ อุปกิเลสที่สัญจรเข้ามาปกคลุม จึงทำให้หมดรัศมี ดุจพระอาทิตย์เมื่อเมฆบดบัง อย่าพึงเข้าใจว่า พระอาทิตย์เข้าไปหาเมฆ เมฆไหลมาบดบังพระอาทิตย์ต่างหาก ฉะนั้น ผู้บำเพ็ญเพียรทั้งหลาย เมื่อรู้โดยปริยายนี้แล้ว พึงกำจัดของปลอม ด้วยการพิจารณาโดยแยบคาย
4.ได้สมบัติทั้งปวงไม่เท่าได้ตน เพราะตัวตนนั้นเป็นที่เกิดแห่ง สมบัติทั้งปวง
5.ของดีมีอยู่กับตัวเรา ทุกคนก็พากันปฏิบัติเอา ทำเอา เมื่อเวลาตายแล้วจึงวุ่นวายหานิมนต์พระมากุสลามาติกา ไม่ใช่เกาถูกที่คันต้องรีบแก้เสียบัดนี้ คือ เร่งทำความดีแต่บัดนี้ จะได้หายห่วงอะไร ๆ ที่เป็นสมบัติของโลก มิใช่สมบัติอันแท้จริงของเรา ตัวจริงไม่มีใครเหลียวแล สมบัติในโลกเราแสวงหามา หามาทุจริตก็เป็นไฟเผา เผาตัวทำให้ฉิบหายได้จริง ๆ ข้อนี้ขึ้นอยู่กับความฉลาดและความโง่เขลาของผู้แสวงหาแต่ละราย
ท่านผู้พ้นทุกข์ไปด้วยความอุตส่าห์สร้างความดีใส่ตน จนกลายเป็นสรณะของพวกเรา ท่านไม่เคยมีสมบัติเงินทอง เครื่องหวงแหน เป็นคนร่ำรวย สวยงามเฉพาะสมัย จึงพากันรัก พากันห่วง จนไม่รู้จักเป็นรู้จักตาย สำคัญตนว่าจะไม่ตาย และพากันประมาทจนลืมตัว เพลิดเพลินตักตวงเอาแต่สิ่งไม่เป็นท่าใส่ตนแทบหาบไม่ไหว
อย่าสำคัญว่าตนเก่งกาจสามารถฉลาดรู้กว่าเขาเลย ถึงกับสร้างความมืดมิดปิดตาทับถมตัวเองจนไม่มีวันสร่างซา เมื่อถึงเวลาจนตรอกอาจจนยิ่งกว่าสัตว์ ถ้าไม่เตรียมทราบไว้เสียแต่บัดนี้ ซึ่งอยู่ในฐานะอันควร อาตมาขออภัยด้วยถ้าพูดหยาบคายไป แต่คำพูดที่สั่งสอนคนให้ละชั่ว ทำความดี จัดเป็นหยาบคายอยู่แล้ว โลกเราก็จะถึงคราวหมดสิ้นศาสนา เพราะไม่มีผู้ยอมรับความจริง การทำบาปหยาบคายมีมาประจำแทบทุกคน ทั้งให้ผลเป็นทุกข์ ตนยังไม่อาจรู้ได้ และตำหนิมันบ้างพอมีทางคิดแก้ไข แต่กลับตำหนิคำสั่งสอนหยาบคาย ก็นับเป็นโรคที่หมดหวัง…
6.เวลาที่สวดไปใจก็กำหนดตาม เกิดความเห็นชัดว่า ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ หรือเป็นอนัตตา ในเวลาที่สวดอยู่นั้น ควรสงเคราะห์เข้าไปในกองปัญญา ก็พอครบสิกขา 3 ตามแบบปฏิบัติบูชาส่วนดอกไม้ ธูปเทียน และภาชนะที่ใส่ดอกไม้วางอยู่หน้าพระพุทธรูป ก็เป็นอามิสบูชา ข้าพเจ้าแยกเป็น 2 ส่วนให้ท่านฟังนี้ ขอท่านจงจำไว้ จะได้ไม่เห็นผิดว่า การไหว้พระสวดมนต์เป็นอามิสบูชา...
| ตำแหน่ง = [[เจ้าอาวาส]][[วัดเจดีย์หลวงวรวิหาร]]
| ช่วงเวลา = [[พ.ศ. 2475]]
| ถัดไป = [[พระครูนพีสีพิศาลคุณ (ทอง
| จำนวนถัดไป =
}}
{{จบกล่อง}}
{{เรียงลำดับ|มั่น}}
{{อายุขัย|2413|2492}}
[[หมวดหมู่:
[[หมวดหมู่:ภิกษุในสังกัดคณะสงฆ์ธรรมยุติกนิกาย]]
[[หมวดหมู่:ชาวไทยเชื้อสายลาว]]
[[หมวดหมู่:พระฐานานุกรม]]
[[หมวดหมู่:
|